เรื่อง: แนวทางการพัฒนาดิจิทัลสำหรับเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย, (วปอ.9190)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย กิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ, (วปอ.9190)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2563
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการพัฒนาดิจิทัลส าหรับเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๓
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ๑) เพื่อศึกษาความพร้อม ความรู้และทักษะของ
ทุนมนุษย์ในการด าเนินชีวิต และการประกอบอาชีพในยุคดิจิทัล ๒) เพื่อศึกษาถอดบทเรียนจากประเทศ
เอสโตเนียและน ามาประยุกต์ใช้ในสังคมไทย ๓) เพื่อน าเสนอแนวทางการพัฒนาดิจิทัลส าหรับเศรษฐกิจ
และสังคมของประเทศไทย โดยท าการศึกษาเกี่ยวกับ แนวคิดทฤษฎีทุนมนุษย์ นโยบายและแผนระดับชาติ
ว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ยุทธศาสตร์การพัฒนาดิจิทัล วิสัยทัศน์และเป้าหมาย
การพัฒนาดิจิทัล ปัญหาอุปสรรคในการพัฒนาดิจิทัล การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานบริการ
ภาครัฐและการยอมรับการใช้งานจากภาคประชาชน และบริบทประเทศเอสโตเนีย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ
ร่วมกับใช้การวิจัยเชิงพรรณนา น ามาวิเคราะห์ตรวจสอบ น าเสนอข้อมูลด้วยวิธีการพรรณนา และน ามา
สรุปเพื่อเป็นแนวทางที่ในการพัฒนาดิจิทัลส าหรับเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย
ผลการวิจัยพบว่า ๑) ความพร้อม ความรู้และทักษะของทุนมนุษย์ในการด าเนินชีวิต
และการประกอบอาชีพในยุคดิจิทัล ต้องได้รับการศึกษา การฝึกอบรม และประสบการณ์การท างาน ต้อง
ปรับตัวให้ก้าวทันโลกอยู่ตลอดเวลา ต้องมีการเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ๆและเปลี่ยนวิธีการท างานให้สอดรับ
กับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่เสมอ เพื่อให้ทันกับโลกดิจิทัลที่ก าลังหมุนไปอย่างรวดเร็ว ๒) การถอด
บทเรียนจากประเทศเอสโตเนียและน ามาประยุกต์ใช้ในสังคมไทย ประเทศเอสโตเนียใช้เทคโนโลยีในการ
ขับเคลื่อนประเทศ อินเทอร์เน็ตเป็นสิ่งส าคัญในการพัฒนาประเทศได้อย่างรวดเร็ว การเป็นรัฐบาลดิจิทัล
ท าการปรับเปลี่ยนรูปแบบบริการของรัฐเข้าด้วยกันให้เป็นจุดเดียวแบบครบวงจร การให้บริการของภาครัฐ
แบบออนไลน์ ท าให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการให้บริการต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ๓) แนวทางการพัฒนา
ดิจิทัลส าหรับเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย ต้องศึกษาบทเรียนการพัฒนาอย่างก้าวกระโดดของ
ประเทศเอสโตเนียน ามาเป็นบทเรียนประยุกต์ใช้กับประเทศไทย พัฒนาก าลังคนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ
ภาคประชาชน ให้มีทักษะด้านดิจิทัล มุ่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลให้มีประสิทธิภาพสูง บูรณาการ
การปรับเปลี่ยนภาครัฐเป็นรัฐบาลดิจิทัล เสริมสร้างความแข็งแกร่งด้านดิจิทัลของประเทศในทุกๆ ด้าน
โดยได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ข้อเสนอแนะ รัฐบาลต้องก าหนด
ยุทธศาสตร์และแผนงานการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลให้เป็นรูปธรรม และน าไปสู่การปฏิบัติได้จริง ให้
ความส าคัญกับการพัฒนาบุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศทุกวัยทุกสาขาอาชีพ ให้มีความสามารถในการ
สร้างสรรค์ และใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างชาญฉลาดในการประกอบอาชีพ
abstract:
ABSTRACT
Title Digital development approach for the economy and society of Thailand
Field Economics
Name Mr. Kitisak Sriprasert Course NDC Class 63
The objective of this research is to: 1) Study Thai citizens’ readiness,
knowledge, skills of human capital for living and working in digital era, 2) Decode the
success of Estonia’s digital transformation and apply its success on Thailand environment and,
3) Propose strategies for Thailand’s social and economic digital development. Detailed
research includes: human capital theory, national policy on social and economic digital
development, vision and mission of national digital development, obstacles on national
digital development, digital technology application on government services, citizen
embracement of digital services, and Estonia’s success on digital transformation. This
research applies qualitative and descriptive methods to investigate and analyze relevant
information in order to structure the path for digital development in Thailand’s economy
and society.
This research finds that: 1) Readiness, knowledge and skills of human capital, for
living and working in the digital era, can be created through continuous education,
training and relevant work experiences. Consequently, to catch up with today’s constantly
changing environment, new technology must not just be implemented, but work processes
must adapt to such new technology, 2) From Estonia’s success, technology is the key
driver of national progress and the internet is crucial for swift national development.
The digital government can integrate various public services together and bring these
services to citizens quickly, and inclusively, 3) Through support from the Ministry of
Digital Economy and Society, Thailand can learn from Estonia’s leapfrogging success
to develop digital competency of human resources in both public and private sectors,
build efficient digital infrastructure, integrate and transform a conventional government
services into a digital government services and, strengthen digital competency in all
aspects. In conclusion, to successfully transform Thailand, the Royal Thai government
must build, integrated digital development strategies and plan, and give high priority
to developing digital skills of Thai citizens of all ages and professions to be capable
of creatively utilizing digital technology.