เรื่อง: การพัฒนาศักยภาพของข้าราชการพลเรือนเพื่อขับเคลื่อนภารกิจประชาคมอาเซียน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง ชุติมา หาญเผชิญ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การพัฒนาศักยภาพของขาราชการพลเรือนเพื่อขับเคลื่อนภารกิจสูประชาคม
อาเซียน
ลักษณะวิชา การเมือง
ผูวิจัย นางชุติมา หาญเผชิญ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 57
รายงานฉบับนี้จัดทําขึ้นเพื่อศึกษาสถานการณปญหาของการเตรียมความพรอมบุคลากร
ตลอดจนศึกษาและวิเคราะหศักยภาพที่จําเปนรวมกัน (Common Needs) ของขาราชการพลเรือน
ในการเขาสูประชาคมอาเซียน โดยใชการศกึษาวิจัยเชิงคณุ ภาพ
จากการศึกษาสถานการณของภาครัฐในการเตรียมบุคลากร พบวา ปจจุบันการอบรม
บุคลากรในบริบทอาเซียนยังเนนที่การพัฒนาศักยภาพในเชิงตั้งรับมากกวาพัฒนาศักยภาพเชิงรุก
กลาวคือหนวยงานภาครัฐสวนใหญมุงเนนการฝกอบรมที่เกี่ยวของกับการพัฒนาทักษะทางภาษา
(รอยละ ๒๕.๕๘) การสงเสริมใหเกิดความเขาใจและพัฒนาศักยภาพของบุคลากร (รอยละ ๒๒.๙๐)
และการใหความรูเกี่ยวกับอาเซียน (รอยละ ๒๐.๙๓) การศึกษาวิจัยและสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิ ยัง
พบวาขาราชการที่ปฏิบัติงานในหนวยงานที่มีภารกิจแตกตางกันในแตละเสาประชาคมอาเซียน
จําเปนตองมีทั้งความรูเฉพาะดานและศักยภาพที่จําเปนตองพัฒนารวมกัน โดยประกอบดวย ๕ ดาน
หลัก (Common Needs) คือ ศักยภาพในการสรางปฏิสัมพันธและความรวมมือ ศักยภาพในการคิด
และการริเริ่มลงมือปฏิบัติ ศักยภาพในการเรียนรูและการประยุกต ศักยภาพดานภาษา และวิธีคิด
แบบอาเซียน
กลาวโดยสรุปขาราชการจําเปนตองไดรับการพัฒนาศักยภาพเชิงรุกเพื่อขับเคลื่อน
ภารกิจของหนวยงานตนในบริบทประชาคมอาเซียนไดอยางมีประสิทธิภาพ ควบคูกับความรูเฉพาะ
ดาน และจําเปนตองไดรับความรวมมืออยางจริงจังจากหนวยงานที่เกี่ยวของ กลาวคือการพัฒนา
ศักยภาพที่จําเปนรวมโดยสํานักงาน ก.พ. และความรูเฉพาะดานโดยหนวยงานระดับกระทรวงที่ไดรับ
มอบหมายเปนผูรับผิดชอบหลักของแตละเสาประชาคมอาเซียน ทั้งนี้ ขอเสนอในระดับนโยบาย
ไดแก การปรับปรุงนโยบายและแนวทางการยกระดับขีดสมรรถนะของขาราชการพลเรือนใหมีความ
ทันสมัย การจัดทํา MOU ระหวางสํานักงาน ก.พ. และกระทรวงหลัก และการวางระบบติดตาม
ประเมินผล และขอเสนอระดับปฏิบัติ ไดแก สํานักงาน ก.พ. พัฒนาหลักสูตรกลางเพื่อพัฒนา
ศักยภาพรวม การรวมศูนยการบริการสําหรับเรื่องอาเซียน การเสริมสรางความเขมแข็ง HRD Unit
และการติดตามและสนับสนุนผาน “ชุมชนนักปฏิบัติเพื่อการเรียนรู (Community of Practice)”
abstract:
a
Abstract
Title Approach for potentials development of the civil servants to work in
ASEAN community.
Field Politics
Name Mrs.Chutima Hanpachern Course NDC Class 57
This report is conducted in order to study the readiness of the Thai
public officer’s capabilities to entering ASEAN Community in 2015. The study aims to
suggest an appropriate development approach to enhance the pro-activity potential
of the civil servants. The qualitative research methodology is used.
According to the study, the situation of how public sectors have prepared
its personnel shown that majority of the training programs emphasized on building
awareness rather than enhancing pro-activity potential development. Government
agencies mainly focus on training related to the development of language skills
(25.58%) to foster the understanding and development of personnel (22.90%) and
knowledge of ASEAN (20.93%). Research studies and expert interviews found that
public officers who work in the ASEAN context need not only a specific skill and
knowledge but also some common pro-activity potentials. These potentials are 1)
capability to create relations and collaboration 2) capability to think and execute 3)
capability to learn and apply 4) language Capability and 5) ASEAN Mindset.
In conclusion, the civil servants need to enhance their pro-activity
potential as well as their specifics knowledge and skills. These can be done by active
collaboration from relevant authorities. That is development of the common proactivity potential needs must be done by OCSC while the specific knowledge and
skills done by responsible ministries of each ASEAN pillar. The recommendations at
the policy level include improving policy and guidelines to enhance a competency
of civil servants, establishing am MOU between OCSC and responsible ministries,
setting up the monitoring and evaluation systems. The practical level including b
develop joint curriculum, centralized ASEAN services, strengthening HRD Unit, and
monitoring and support through Community of Practice (CoP).