Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านโลจิสติกส์ทางน้ำเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของไทย, (วปอ.9188)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย กิตติ พัวถาวรสกุล, (วปอ.9188)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2563
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการพัฒนาดานโลจิสติกสทางน้ำเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ แขงขันของไทย ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผูวิจัย นายกิตติ พัวถาวรสกุล หลักสูตร วปอ. รุนที่ 63 วัตถุประสงคของการวิจัย 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาปญหา อุปสรรคของการพัฒนา โครงสรางพื้นฐานดานโลจิสติกสทางน้ำของไทย 2) เพื่อศึกษา วิเคราะหเปรียบเทียบการพัฒนาโครงสราง พื้นฐานดานโลจิสติกสทางน้ำของตางประเทศและ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาดานโลจิสติกสทางน้ำ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของไทย วิธีการวิจัย เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการเก็บขอมูล จากผูใหขอมูลหลักซึ่งเปนผูแทนจากภาคขนสง หนวยงานภาครัฐ และผูใชบริการโลจิสติกสทางน้ำ รวม เปน 10 ราย เครื่องมือในการวิจัยเปนการสัมภาษณเชิงลึก การวิเคราะหขอมูลใชการตีความจากขอมูลที่ เชิงคุณภาพ ผลการศึกษาปญหาอุปสรรคของการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานโลจิสติกสทางน้ำของไทย แบงออกเปน 2 สวน คือ การขนสงทางทะเล และการขนสงทางลำน้ำ พบวา การขนสงทางทะเล(ทาเรือ ระนอง และทาเรือแหลมฉบัง) มีสภาพปญหาอุปสรรคในดานโครงขายการขนสงที่ไมเชื่อมตอกัน ตำแหนง ที่ตั้งในการเคลื่อนยายสินคาไมอำนวยทั้งจากแหลงผลิตและไมไดอยูบนเสนทางเดินเรือหลัก ไมมีสถานีตู สินคาหรือโรงพักสินคาการควบคุมระบบ รัฐไมไดวางกรอบที่ชัดเจนในการพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐาน เพื่อการขนสงที่เชื่อมโยงกัน กฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่ไมเบ็ดเสร็จ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศยังขาด ความทันสมัย ทำใหไมสามารถวิเคราะหและวางแผนทางยุทธศาสตรของประเทศไดอยางถูกตองและ แมนยำ การขนสงทางลำน้ำ (ทาเรือกรุงเทพฯ) มีสภาพปญหาอุปสรรคในดานโครงขายการขนสงยังไม เอื้ออำนวยตอระบบการขนสงทางโลจิสตดานการควบคุมระบบ กฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่เอื้อตอ การดำเนินธุรกิจของผูประกอบการ ทั้งดานการจดทะเบียนเรือไทย การนำเรือเขา และการออกจากทาเรือ ดานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ขาดระบบการชำระเงินที่เอื้อตอผูประกอบการทุกรูป ผลศึกษาการเปรียบเทียบการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานโลจิสติกสทางน้ำของ ตางประเทศ ปจจัยดานความสามารถในการใหบริการดานโลจิสติกส พบวา ประเทศเยอรมันใช นวัตกรรมเปนตัวขับเคลื่อนโครงสรางพื้นฐานโลจิสติกสทางน้ำเชนเดียวกับประเทศสิงคโปร ปจจัยดาน นโยบายสนับสนุน พบวา ทุกประเทศมีการบูรณาการดานภาคีเครือขายในการเขารวมเปนภาคี เครือขายทั้งภายในประเทศและตางประเทศ ปจจัยดานความพรอมของโครงสรางพื้นฐาน พบวา ทุกประเทศพัฒนาระบบการขนสงแบบเชื่อมตอกันทุกชองทาง รวมทั้งสามารถรองรับสินคาฮาลาลได ดวย และปจจัยดานทำเลที่ตั้ง พบวา โอกาสที่ดีที่สุดของแตละประเทศคือ ภูมิศาสตรของประเทศ อยูใจกลางเสนทางการขนสงทางน้ำ ผลการศึกษาแนวการพัฒนาดานโลจิสติกสทางน้ำเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน มีแนวทางการพัฒนาได 3 ประเด็น คือ ดานโครงขายการขนสง ดานการควบคุมระบบ และดานเทคโนโลยี สารสนเทศ

abstract:

Abstract Title Development guidelines for water logistics to increase Thailand's competitiveness. Field Economic Name Mr. Kitti Phuathavornskul Course NDC Class 63 The three objectives of this research were 1) to study the problems and obstacles in the development of water logistics infrastructure in Thailand; 2) to study, analyze and compare the development of water logistics infrastructure in foreign countries; and 3) to study the development approach in water logistics to increase Thailand's competitiveness. The research methodology used was a qualitative research by collecting data from key informants who are representatives from the transport sector government agency and water logistics service users, 10 persons in total. The research tool used was an in-depth interview. The data analysis used was qualitative interpretations of data. Result of the study on the problems and obstacles in the development of Thai water logistics infrastructure can be divided into two parts: marine transportation; and riverine transportation. It was found that marine transportation (at Ranong port and at Laem Chabang Port) has problems and obstacles in the transportation networks that are not connected to each other. The transport locations of the goods are not convenient from the source of production and are not on the main shipping route. There are no container stations or warehouses. Government control of the legal system and regulations do not provide a clear framework for the development of connected transportation infrastructure. Non￾Comprehensive Laws and Regulations Information technology systems are still lacking modernity resulting in the inability to analyze and formulate the country's strategic plan correctly and accurately. The riverine transportation (Bangkok Port) has problems and obstacles in the transportation network that is not conducive to the logistics transportation system. Government control of the legal system and regulations are conducive to entrepreneurs' business operations both in terms of registration of Thai ships, ships’ arrival, and departure notification. In terms of information technology systems, there is a lack of payment systems that support all forms of entrepreneurs. Result of the comparative study of the development of foreign water logistics infrastructure showed that, in terms of logistics service capability, it was found that Germany used innovation as a driver of water logistics infrastructure, and the same as Singapore. On supporting policy factors, it was found that all countries had integration of network partners to join as network partners both within the country and abroad. On infrastructure readiness factor, it was found that every country developed a transportation system that connects to all channels, with the ability to support halal products as well. On the location factor, it was found that the best opportunity of each country is the country's geography being in the center of the water transportation route. Result of the study on development guidelines for water logistics to increase Thailand’s competitiveness have 3 suggestions, namely on the transportation network, the system control, and the information technology.