เรื่อง: แนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านโลจิสติกส์ทางน้ำเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของไทย, (วปอ.9188)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย กิตติ พัวถาวรสกุล, (วปอ.9188)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2563
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการพัฒนาดานโลจิสติกสทางน้ำเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ
แขงขันของไทย
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผูวิจัย นายกิตติ พัวถาวรสกุล หลักสูตร วปอ. รุนที่ 63
วัตถุประสงคของการวิจัย 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาปญหา อุปสรรคของการพัฒนา
โครงสรางพื้นฐานดานโลจิสติกสทางน้ำของไทย 2) เพื่อศึกษา วิเคราะหเปรียบเทียบการพัฒนาโครงสราง
พื้นฐานดานโลจิสติกสทางน้ำของตางประเทศและ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาดานโลจิสติกสทางน้ำ
เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของไทย วิธีการวิจัย เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการเก็บขอมูล
จากผูใหขอมูลหลักซึ่งเปนผูแทนจากภาคขนสง หนวยงานภาครัฐ และผูใชบริการโลจิสติกสทางน้ำ รวม
เปน 10 ราย เครื่องมือในการวิจัยเปนการสัมภาษณเชิงลึก การวิเคราะหขอมูลใชการตีความจากขอมูลที่
เชิงคุณภาพ
ผลการศึกษาปญหาอุปสรรคของการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานโลจิสติกสทางน้ำของไทย
แบงออกเปน 2 สวน คือ การขนสงทางทะเล และการขนสงทางลำน้ำ พบวา การขนสงทางทะเล(ทาเรือ
ระนอง และทาเรือแหลมฉบัง) มีสภาพปญหาอุปสรรคในดานโครงขายการขนสงที่ไมเชื่อมตอกัน ตำแหนง
ที่ตั้งในการเคลื่อนยายสินคาไมอำนวยทั้งจากแหลงผลิตและไมไดอยูบนเสนทางเดินเรือหลัก ไมมีสถานีตู
สินคาหรือโรงพักสินคาการควบคุมระบบ รัฐไมไดวางกรอบที่ชัดเจนในการพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐาน
เพื่อการขนสงที่เชื่อมโยงกัน กฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่ไมเบ็ดเสร็จ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศยังขาด
ความทันสมัย ทำใหไมสามารถวิเคราะหและวางแผนทางยุทธศาสตรของประเทศไดอยางถูกตองและ
แมนยำ การขนสงทางลำน้ำ (ทาเรือกรุงเทพฯ) มีสภาพปญหาอุปสรรคในดานโครงขายการขนสงยังไม
เอื้ออำนวยตอระบบการขนสงทางโลจิสตดานการควบคุมระบบ กฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่เอื้อตอ
การดำเนินธุรกิจของผูประกอบการ ทั้งดานการจดทะเบียนเรือไทย การนำเรือเขา และการออกจากทาเรือ
ดานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ขาดระบบการชำระเงินที่เอื้อตอผูประกอบการทุกรูป
ผลศึกษาการเปรียบเทียบการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานโลจิสติกสทางน้ำของ
ตางประเทศ ปจจัยดานความสามารถในการใหบริการดานโลจิสติกส พบวา ประเทศเยอรมันใช
นวัตกรรมเปนตัวขับเคลื่อนโครงสรางพื้นฐานโลจิสติกสทางน้ำเชนเดียวกับประเทศสิงคโปร ปจจัยดาน
นโยบายสนับสนุน พบวา ทุกประเทศมีการบูรณาการดานภาคีเครือขายในการเขารวมเปนภาคี
เครือขายทั้งภายในประเทศและตางประเทศ ปจจัยดานความพรอมของโครงสรางพื้นฐาน พบวา
ทุกประเทศพัฒนาระบบการขนสงแบบเชื่อมตอกันทุกชองทาง รวมทั้งสามารถรองรับสินคาฮาลาลได
ดวย และปจจัยดานทำเลที่ตั้ง พบวา โอกาสที่ดีที่สุดของแตละประเทศคือ ภูมิศาสตรของประเทศ
อยูใจกลางเสนทางการขนสงทางน้ำ
ผลการศึกษาแนวการพัฒนาดานโลจิสติกสทางน้ำเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน
มีแนวทางการพัฒนาได 3 ประเด็น คือ ดานโครงขายการขนสง ดานการควบคุมระบบ และดานเทคโนโลยี
สารสนเทศ
abstract:
Abstract
Title Development guidelines for water logistics to increase Thailand's
competitiveness.
Field Economic
Name Mr. Kitti Phuathavornskul Course NDC Class 63
The three objectives of this research were 1) to study the problems and
obstacles in the development of water logistics infrastructure in Thailand; 2) to study,
analyze and compare the development of water logistics infrastructure in foreign
countries; and 3) to study the development approach in water logistics to increase
Thailand's competitiveness. The research methodology used was a qualitative
research by collecting data from key informants who are representatives from the
transport sector government agency and water logistics service users, 10 persons in
total. The research tool used was an in-depth interview. The data analysis used was
qualitative interpretations of data.
Result of the study on the problems and obstacles in the development of
Thai water logistics infrastructure can be divided into two parts: marine
transportation; and riverine transportation. It was found that marine transportation (at
Ranong port and at Laem Chabang Port) has problems and obstacles in the
transportation networks that are not connected to each other. The transport
locations of the goods are not convenient from the source of production and are not
on the main shipping route. There are no container stations or warehouses.
Government control of the legal system and regulations do not provide a clear
framework for the development of connected transportation infrastructure. NonComprehensive Laws and Regulations Information technology systems are still
lacking modernity resulting in the inability to analyze and formulate the country's
strategic plan correctly and accurately. The riverine transportation (Bangkok Port) has
problems and obstacles in the transportation network that is not conducive to the
logistics transportation system. Government control of the legal system and
regulations are conducive to entrepreneurs' business operations both in terms of
registration of Thai ships, ships’ arrival, and departure notification. In terms of
information technology systems, there is a lack of payment systems that support all
forms of entrepreneurs.
Result of the comparative study of the development of foreign water
logistics infrastructure showed that, in terms of logistics service capability, it was
found that Germany used innovation as a driver of water logistics infrastructure, and
the same as Singapore. On supporting policy factors, it was found that all countries
had integration of network partners to join as network partners both within the
country and abroad. On infrastructure readiness factor, it was found that every
country developed a transportation system that connects to all channels, with the
ability to support halal products as well. On the location factor, it was found that the
best opportunity of each country is the country's geography being in the center of
the water transportation route.
Result of the study on development guidelines for water logistics to
increase Thailand’s competitiveness have 3 suggestions, namely on the transportation
network, the system control, and the information technology.