Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนากลไกในการบูรณาการข้อมูลแรงงานเด็กของประเทศไทย, (วปอ.9187)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว กาญจนา พูลแก้ว, (วปอ.9187)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2563
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการพัฒนากลไกในการบูรณาการขอมูลแรงงานเด็กของประเทศไทย ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผูวิจัย นางสาวกาญจนา พูลแกว หลักสูตร วปอ. รุนที่ 63 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษารูปแบบการจัดเก็บและนำเสนอขอมูลแรงงานเด็ก ของหนวยงานตาง ๆ ปญหาอุปสรรคและเสนอแนวทางการพัฒนากลไกเพื่อบูรณาการขอมูลแรงงานเด็ก ระหวางหนวยงาน โดยขอบเขตของการวิจัยเปนการศึกษาจากขอมูลที่ไดจากการสำรวจการทำงาน ของเด็กในประเทศไทย พ.ศ. 2561 และแรงงานเด็กในรูปแบบที่เลวรายของปงบประมาณ พ.ศ. 2563 การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพรวมกับเชิงพรรณนา เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ เชิงลึก ประมวลความคิดเห็นจากการสนทนากลุมและการประชุมคณะทำงานที่เกี่ยวของ ประกอบ ขอมูลทุติยภูมิ ผลการวิจัยพบวา การจัดเก็บและนำเสนอขอมูลแรงงานเด็กมี 2 รูปแบบ คือ 1) การจัดเก็บ ขอมูลดวยวิธีการสำรวจทางสถิติ พบวา ขอมูลที่นำเสนอไมสามารถจำแนกกลุมเด็กทำงานเปนในระบบ และนอกระบบ ทำใหยากตอการแกไขปญหาตามกลุมเปาหมาย และนิยามที่ใชในการสำรวจยังไมชัดเจน และ 2) การจัดเก็บขอมูลตามบทบาทภารกิจของแตละหนวยงาน พบวา ยังไมสอดคลองกับรูปแบบ ของการใชแรงงานเด็กในรูปแบบที่เลวรายตามอนุสัญญาองคการแรงงานระหวางประเทศ ฉบับที่ 182 และมาตรฐานการจัดเก็บไมเปนไปในทิศทางเดียวกัน ปญหาอุปสรรคที่พบ คือ ยังไมไดนำขอมูล ผลการสำรวจการทำงานของเด็กขางตนไปใชในการกำหนดแผนงาน โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวของ และเจาหนาที่ยังขาดความรู ความเขาใจเกี่ยวกับนิยามการใชแรงงานเด็กและความรูดานสถิติ สำหรับแนวทางการพัฒนากลไกเพื่อบูรณาการขอมูลแรงงานเด็ก ไดแก การเตรียมความพรอมการสำรวจ เด็กทำงานในประเทศครั้งตอไป การปรับกระบวนการทำงาน จัดทำบัญชีขอมูล (Data Catalog) จัดทำคลังเก็บขอมูล (Data Warehouse) และเสริมสรางศักยภาพของบุคลากร ทั้งนี้ มีขอเสนอแนะ ระดับนโยบายวา กำหนดนโยบายการบริหารจัดการขอมูลแรงงานเด็กโดยยึดหลักธรรมาภิบาลขอมูล (Data Governance) ขอเสนอระดับปฏิบัติการ ปรับปรุงระบบและพัฒนาระบบฐานขอมูลภายใน กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน และกำหนดแผนงานบูรณาการเพื่อแกไขปญหาแรงงานเด็ก เพื่อเปนชองทางในการของบประมาณของหนวยงานที่เกี่ยวของ ขอเสนอแนะการวิจัยครั้งตอไป คือ การวิเคราะหและพัฒนาระบบบริหารจัดการขอมูลสารสนเทศดานเด็กและเยาวชนในภาพรวม ของประเทศ

abstract:

Abstract Title Guidelines for developing mechanisms for integrating Child Labour Information in Thailand Field Socio – Psychology Name Miss Kanjana Poolkaew Course NDC Class 63 This research aims to study the patterns of storing and presenting the child labour data of various agencies and the obstacles and to proposes a mechanism for the integration of child labour information between agencies. The scope of the research is a data study obtained from the 2018 National Working Children Survey and Thailand Finding on the Worst forms of Child Labour Fiscal Year 2020. This research is descriptive and qualitative research. The tools used in the research are in - depth interviews, collect opinions from group discussions and relevant working group meetings, assembling with the secondary data. The findings showed that there are 2 forms of child labour data collection and presentation: 1) the collection by statistical survey method. It was found that the information presented could not be classified by group of children working in formal and informal sectors. This makes it difficult to solve problems responded to the target and the definitions used are unclear, and 2) the collection based on the roles and missions of each agency found that it was inconsistent with the Worst Forms of Child Labour under the ILO Convention No. 182, and the data storage standard are not in the same direction. The problems encountered were that (a) the data from the mentioned Survey had not yet been used in formulating work plans and projects/activities related, and (b) the officer still lack knowledge and understanding of definitions, also statistical knowledge. Therefore, the guidelines for the development of mechanisms include preparing for the next survey, adjusting the work process, preparing data catalog and data warehouse and enhancing the potential of personnel. However, policy recommendation are noted that establishing a policy for managing child labour data should base on data governance, while practical recommendation are noted that improving the system and developing a database within the Department of Labour Protection and Welfare to be able to link or exchange information with other agencies has put in place and setting integrated plan for problem - solving on child labour as a mean for requesting a budget. Recommendation for the next research is analysis and development of information management system on children and youth as a country overview.