Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การให้เอกชนจัดการพลังงานน้ำในประเทศไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ชัชวาล เอี่ยมศิริ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง การใหเอกชนจัดการพลังงานน้ําในประเทศไทย ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร ผูวิจัย นายชัชวาล เอี่ยมศิริ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 57 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ในอดีตที่ผานมา พลังงานน้ํา (Hydropower) มีบทบาทสําคัญในการผลิตไฟฟา เพื่อรองรับ ความตองการใชไฟฟาของภาคครัวเรือนและภาคอุตสาหกรรมที่มากขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ ในประเทศ แตโดยที่การผลิตไฟฟาจากพลังงานน้ํานั้น จําเปนตองใชพื้นที่ขนาดใหญและแหลงน้ําตาม ธรรมชาติในการผลิตกระแสไฟฟาโดยการสรางเขื่อน เพื่อเปนแหลงกักเก็บน้ํา และใชเปนตัวการในการ ผลิตไฟฟา รัฐบาลจึงตองเปนผูดําเนินการเนื่องจากตองเกี่ยวของกับประชาชนในวงกวาง มีการเวนคืน ที่ดินทํากินของประชาชน หรือปาไมที่เปนแหลงตนน้ําธรรมชาติโดยการออกพระราชบัญญัติเวรคืน ที่ดิน รวมทั้งทําลายพื้นที่ปา ทําใหเกิดแรงตอตานอยางรุนแรงจากสังคม การผลิตไฟฟาจึงหันไปใชทรัพยากรรูปแบบอื่นในการผลิต อาทิเชน ถานหิน กาซ ธรรมชาติ และน้ํามันปโตรเลียม และ/หรือทรัพยากรธรรมชาติรูปแบบอื่นๆ ซึ่งผลิตภัณฑปโตรเลียม ดังกลาวเปนทรัพยากรที่ใชแลวหมดไป และกอใหเกิดมลภาวะตอสิ่งแวดลอมจากกระบวนการผลิต เนื่องจากมีการปลอยกาซคารบอนไดออกไซคเขาสูชั้นบรรยากาศและเปนเหตุทําใหเกิดภาวะโลกรอน อีกทางเลือกที่อยูในแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศ (Power Development Plan : PDP) คือการ ใชพลังงานนิวเคลียรในการผลิตไฟฟา แตเนื่องจากความกังวลในดานความปลอดภัยตอสุขภาพและ สิ่งแวดลอม ทางเลือกนี้จึงยังอยูในขั้นตอนของการศึกษาความเปนไปไดและผลกระทบตอสุขภาพและ สิ่งแวดลอม อยางไรก็ตาม การผลิตไฟฟาจากพลังงานน้ําถือวาเปนทางเลือกที่นาจะกอใหเกิด ประโยชนสูงสุดเนื่องจากเปนการใชทรัพยากรที่มีตนทุนต่ํา และเปนทรัพยากรที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ มีการหมุนเวียนตาม วัฏจักรไมมีที่สิ้นสุด แตการผลิตไฟฟาพลังงานน้ําดวยระบบเดิม คือการสราง เขื่อนเพื่อกักเก็บน้ําและผลิตไฟฟา มีขอจํากัดในการดําเนินการตามที่กลาวไปแลวขางตน ดังนั้นเพื่อให ไดประโยชนจากพลังงานน้ําในการผลิตไฟฟา จึงควรมีการศึกษาและพัฒนาการใชระบบพลังงานน้ําข หมุนเวียนในการผลิตไฟฟาแทนการสรางเขื่อน ระบบพลังงานน้ําหมุนเวียนนั้นมีขอไดเปรียบดวยการ ใชพื้นที่ในการสรางระบบโครงสรางนอยกวา โดยมีหลักการทํางานของโรงไฟฟา คือ ในชวงกลางคืน ถึงเชาจะใชกระแสไฟฟาเพื่อปมน้ําจากอางเก็บน้ําขึ้นระดับพื้นดินไปกักเก็บไวที่อางเก็บน้ําดานบนที่มี ระดับสูงกวา เนื่องจากคากระแสไฟฟาในชวงกลางคืนมีความตองการใชนอย จึงมีราคาถูกกวาคา กระแสไฟฟาในชวงเวลากลางวัน และยังถือเปนพลังงานที่เหลือใช สําหรับในชวงกลางวันถึงค่ําซึ่งเปน ชวงที่มีความตองการใชไฟฟาสูง แลวจะปลอยน้ําที่เก็บไวในที่สูงลงตามแรงดึงดูดของโลกเพื่อใชใน การผลิตกระแสไฟฟา และสามารถนําน้ํากลับไปใชไดอีก ทําใหสามารถประหยัดน้ําตนทุนอยางมาก ในการจัดการระบบพลังงานน้ําหมุนเวียนเพื่อใชในการผลิตกระแสไฟฟาในลักษณะนี้เปน โรงไฟฟาขนาดกลางและเล็ก ภาครัฐบาลควรสงเสริมใหเอกชนเปนผูลงทุน เนื่องจากใชเงินลงทุนไม มากและไมจําเปนตองใชพื้นที่ขนาดใหญในการสรางระบบโครงสราง ซึ่งจะชวยกระจายการผลิตไฟฟา ไปในหลายภาคสวนของประเทศ เปนผลดีตอการจางงาน และทําใหมีกระแสไฟฟาใชไดอยางทั่วถึง มากขึ้น นอกจากนี้ภาคเอกชนจะชวยนําความรูและความเชี่ยวชาญมาพัฒนาระบบการผลิตไฟฟาใน ประเทศ ประกอบกับภาคเอกชนมีแรงจูงใจจากผลกําไรจากการดําเนินการ จึงสามารถดําเนินการผลิต ไฟฟาพลังงานหมุนเวียนใหเกิดประสิทธิภาพมากกวาการดําเนินงานโดยภาครัฐที่มักจะมีขอจํากัดใน เรื่องของงบประมาณ และการดําเนินการที่ลาชา อยางไรก็ตาม เพื่อใหภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในการสรางโรงไฟฟาระบบพลังงานน้ํา หมุนเวียน รัฐบาลควรมีนโยบายในการสนับสนุน อาทิเชน การสนับสนุนดานเงินทุนที่มีอัตราดอกเบี้ย ต่ํา มาตรการทางภาษี และ/หรืออื่นๆ ซึ่งจะชวยใหภาคเอกชนใหความสนใจโดยการลงทุนและพัฒนา ระบบการใชระบบพลังงานน้ําหมุนเวียน วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาระบบการจัดการการผลิตกระแสไฟฟาดวยพลังงานน้ํา รูปแบบของการ จัดการที่ใชมาจนถึงปจจุบัน ซึ่งจะทําใหทราบถึงแนวทางการปฏิบัติ ผลกระทบและวิธีการจัดการกับ การบริหารการผลิตไฟฟาพลังงานน้ําของทั้งประเทศไทย และตางประเทศ 2. เพื่อศึกษาความเปนไปไดในการเพิ่มบทบาทใหภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในการ บริหารจัดการระบบการผลิตกระแสไฟฟาพลังงานน้ําในประเทศไทย รวมทั้งนโยบายที่ภาครัฐบาลควรค จะพัฒนาริเริ่ม และกําหนดเปนแมบทในการดําเนินการเพื่อสงเสริมและดึงดูดใจใหนักลงทุน ภาคเอกชนอยากเขามารวมลงทุนในโครงการการผลิตไฟฟาพลังงานน้ํา การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ ในการวิจัยครั้งนี้จะทบทวนวรรณกรรม ซึ่งประกอบไปดวยทฤษฎีแนวคิดกระบวนการ ในการใหภาคเอกชนเขามาบริหารจัดการพลังงานน้ําในประเทศไทย เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังนี้ 1. ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการใชพลังงานน้ําในการผลิตกระแสไฟฟา และโครงสราง การจัดการของประเทศไทยและตางประเทศ 2. กระบวนการเพิ่มบทบาทของภาคเอกชนในฐานะผูบริหารจัดการโครงสรางโรงไฟฟา พลังงานน้ํา 3. นโยบายที่ภาคชนตองการการสนับสนุนจากภาครัฐบาล 4. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการดําเนินการบริหารจัดการการผลิตกระแสไฟฟา ดวยพลังงานน้ําในปจจุบัน โดยมุงเนนไปที่ประเทศที่พัฒนาแลว อาทิเชน ประเทศอเมริกา เปนตน 5. สัมภาษณผูทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องของโรงไฟฟาพลังงานน้ํา ขอบเขตการวิจัย 1. เนนการวิจัยการผลิตกระแสไฟฟาพลังงานน้ํารูปแบบพลังงานน้ําหมุนเวียนของใน ประเทศที่พัฒนาแลวและในประเทศไทย 2. พัฒนาแนวทางในการเพิ่มบทบาทของภาคเอกชนเพื่อเขามามีสวนรวมในการผลิต ไฟฟาพลังงานน้ําหมุนเวียน วิธีการดําเนินการวิจัย การวิจัยในครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาวิเคราะหรูปแบบการดําเนินการผลิต กระแสไฟฟาดวยพลังงานน้ําในประเทศไทย และเปรียบเทียบกับการดําเนินงานในตางประเทศ โดย มุงเนนไปที่วิธีการบริหารจัดการโรงไฟฟาพลังงานน้ํา เพื่อนําไปสูแนวทางการบริหารจัดการไฟฟาง พลังงานน้ําในประเทศไทย โดยการใหภาคเอกชนเขามามีบทบาทมากขึ้น รวมทั้งศึกษาแผนการ ดําเนินงานของตางประเทศและนําเสนอแผนการที่สามารถปฏิบัติไดจริง ผลการวิจัย 1. ในปจจุบัน ประเทศตางๆ ในโลกมีแนวโนมความตองการใชพลังงานไฟฟาสูงขึ้น อยางตอเนื่องโดยเฉพาะประเทศจีน ซึ่งเปนผลมาจากการเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยคาดวาในป2583 อัตราความตองการใชพลังงานไฟฟาของโลกจะสูงขึ้นประมาณรอยละ 80 เมื่อเทียบกับอัตราความ ตองการใชพลังงานไฟฟาในปจจุบัน โดยภาคอุตสาหกรรมและภาคครัวเรือนมีอัตราการเติบโตสูงสุด สําหรับในประเทศไทยนั้น ความตองการใชไฟฟาสูงสุดของประเทศไทยยังคงเติบโตขึ้นอยางตอเนื่อง และมีแนวโนมวากระแสไฟฟาที่ผลิตภายในประเทศอาจจะไมเพียงพอ ซึ่งอาจจะตองนําเขาไฟฟาใน ที่สุด 2. เชื้อเพลิงหลักที่ใชในการผลิตกระแสไฟฟาเปนจําพวกฟอสซิล อาทิเชน พวกกาซ ธรรมชาติ ถานหินและน้ํามัน ซึ่งตามสภาวการณในปจจุบัน เชื้อเพลิงจําพวกนี้มีความผันผวนทางดาน ราคา ทําใหสงผลกระทบตอโครงสรางการกําหนดราคาไฟฟาและกระทบตอตนทุนการผลิต นอกจากนี้ ยังมีแนวโนมที่ทรัพยากรจะหมดไป ซึ่งหากขาดเชื้อเพลิงหลักในการผลิตไฟฟาก็อาจจะนําไปสูการขาด ความมั่นคงทางพลังงาน 3. พลังงานทางเลือกเปนอีกแหลงพลังงานที่กําลังเขามามีบทบาทที่สําคัญในการนํามาใช ผลิตกระแสไฟฟาแทนเชื้อเพลิงฟอสซิล เนื่องจากเปนพลังงานที่มีอยูตามธรรมชาติไมมีวันหมดไป เชน พลังงานลม พลังงานแดด และพลังงานน้ํา เปนตน และยังถือเปนแหลงพลังงานสะอาดไมกอใหเกิด ผลเสียตอสิ่งแวดลอม อยางไรก็ตาม พลังงานทางเลือกแตละประเภทก็มีขอดีและขอจํากัดที่แตกตางกัน ออกไป โดยสวนใหญจะพบวาแหลงพลังงานหมุนเวียนจะไมคอยมีเสถียรภาพ เนื่องจากผันแปรตาม สภาพภูมิอากาศและสภาพภูมิประเทศ แตหากมีการนําพลังงานเหลานี้มาใชภายใตการบริหารจัดการที่มี ประสิทธิภาพและมีเสถียรภาพมากขึ้น จะสงเสริมใหการผลิตกระแสไฟฟาดวยพลังงานทางเลือกเปนที่ นิยม และมีตนทุนการผลิตไฟฟาที่ต่ําลง สามารถชวยเสริมสรางความมั่นคงทางดานพลังงานไดเปน อยางดี 4. จากการพิจารณาเปรียบเทียบพลังงานทางเลือกแตประเภท ผูวิจัยพบวา พลังงานน้ําเปน ทางเลือกที่นาสนใจนําไปใชในการผลิตกระแสไฟฟามากที่สุด เนื่องจากเปนพลังงานน้ําจะมีการจ ไหลเวียนตามวัฏจักรของน้ําไมมีวันหมดสิ้น และยังสามารถคงคุณภาพของสสาร อีกทั้งการเดินเครื่อง กําเนิดไฟฟาพลังงานน้ํายังสามารถผลิตไดในระยะเวลาอันรวดเร็ว สามารถควบคุมกําลังการผลิต ออกมาไดใกลเคียงกับความตองการ มีประสิทธิภาพในการทํางานสูงมาก นอกจากนี้ยังมีประโยชนตอ ชุมชนในการสงเสริมอาชีพ และเพิ่มรายไดจากการทองเที่ยวอีกดวย แตทั้งนี้การผลิตไฟฟาพลังงานน้ํา ยังมีขอจํากัดบางประการที่ตองพิจารณา โดยเฉพาะในเรื่องของการสรางเขื่อนขนาดใหญที่จะตองมีการ เวรคืนที่ดินทํากิน ทําลายสิ่งแวดลอมและสงผลกระทบตอประชาชนในวงกวาง ดวยการนี้ การพัฒนา โรงไฟฟาจึงควรมุงเนนการพัฒนาโรงไฟฟาพลังงานน้ําขนาดกลางและขนาดเล็กตามแหลงน้ําของ ชุมชนแทน ซึ่งนอกจากจะชวยเพิ่มกระแสไฟฟาเขาสูระบบแลว ยังชวยใหประชาชนในธุรกันดารไดใช ไฟฟาอยางทั่วถึง 5. การศึกษาตัวอยางของโครงการไฟฟาพลังงานในประเทศชั้นนําสวนใหญ พบวามีการ พัฒนาและสงเสริมการใชพลังงานทางเลือกกันอยางแพรหลาย โดยเฉพาะพลังงานน้ํา อาทิเชน ประเทศ อเมริกา และประเทศสวิสเซอรแลนด เพื่อสงเสริมความมั่นคงพลังงานในระยะยาวและชวยลดตนทุน การผลิตไฟฟา ซึ่งจะชวยใหประเทศมีไฟฟาที่ราคาถูกลง และชวยสงเสริมความสามารถในการแขงขัน ในการสงพลังงานออกไปยังประเทศเพื่อนบานไดอีกดวย 6. การพัฒนาและสงเสริมการผลิตกระแสไฟฟาดวยพลังงานน้ํานั้น ภาครัฐบาลควรให ภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในฐานะผูลงทุน เนื่องจากภาคเอกชนมีความพรอมในดานของทรัพยากรคน เงิน และความรูความสามารถที่จะสามารถมาชวยปรับปรุงการทํางานของภาครัฐบาล นอกจากนี้ในภาพ การประกอบธุรกิจ พบวา การดําเนินการของภาคเอกชนมุงเนนใหเกิดผลกําไรสูงสุด จะทําใหการ ดําเนินธุรกิจมีประสิทธิภาพมากกวาและมีความเสี่ยงนอยกวาการบริหารจัดการโดยภาครัฐบาล ขอเสนอแนะ 1. มาตราการเรื่องการจัดตั้งองคกรเพื่อบริหารจัดการการผลิตไฟฟาดวยพลังงานน้ํา โดยเฉพาะ ขอเสนอใหมีการจัดตั้งองคกรเพื่อดูแล จัดการ ขับเคลื่อนการใชประโยชนจากแหลงน้ําใน ประเทศ ในปจจุบันมีการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการน้ําเพื่อดูแลและจัดการระบบน้ําของ ประเทศ โดยมีวัตุประสงคหลักเพื่อมุงเนนการแกไขปญหาขาดแคลนน้ํา การสงเสริมภาคอุตสาหกรรม และเกษตรกรรม การปรับปรุงคุณภาพน้ํา และการปองกันระบบน้ําทวม แตขาดการบริหารจัดการน้ํา เพื่อประโยชนในการผลิตกระแสไฟฟา ดังนั้นการจัดตั้งหนวยงานเพื่อเขามารับผิดชอบในสวนของการฉ ผลิตไฟฟาโดยเฉพาะ จะชวยใหภาครัฐบาลสามารถบริหารจัดการน้ําไดครบรอบดาน และยังชวยเพิ่ม แหลงสํารองไฟฟาของประเทศไดอีกทางหนึ่งดวย 2. มาตราการกระตุนใหภาคเอกชนเขามาลงทุน สรางเขื่อนขนาดเล็กและขนาดใหญเพื่อ ประโยชนของประเทศ จากที่กลาวไปขางตน การเปดโอกาสใหภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในการ ลงทุนในการสรางโรงไฟฟาพลังน้ําจะทําใหประเทศไดรับประโยชนเพิ่มขึ้นอยางมาก 3. ภาครัฐบาลตองมีการศึกษาเรื่องโครงสรางราคาที่เหมาะสม และสอดคลองกับตนทุน การผลิตที่แทจริง เพื่อใหการรับซื้อและจําหนายกระแสไฟฟาที่เกิดจากพลังงานหมุนเวียนเกิดความเปน และสงเสริมใหเกิดการแขงขันจากภาคเอกชน และกอใหเกิดการลดตนทุนการผลิต เพื่อใหประชาชนใช ไฟฟาในราคาที่ถูกลง รวมทั้งสามารถสงออกกระแสไฟฟาสวนเกินไปยังประเทศเพื่อนบาน นอกจากนี้ ตองมีมาตรการสนับสนุนเสรีภาพของตลาดพลังงาน โดยตองมีนโยบายที่จริงจังและมีความแนนอนวา การลงทุนจะไมมีความเสี่ยงจากความไมแนนอนของภาครัฐบาล 4. รัฐบาลตองลงทุนระบบโครงสรางสาธารณูภปโภคพื้นฐาน ไดแก ระบบสงไฟฟา จาก ชุมชนเชื่อมโยงกับแหลงผลิตกระแสไฟฟา เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการนําพลังงานหมุนเวียนมาใช รวมทั้งตองมีการพัฒนาประสิทธิภาพและกระบวนการในการขอจัดตั้งโรงไฟฟาพลังงานใหมีความ รวดเร็ว แตรอบคอบ

abstract:

ช Abstract Title Private Management of Hydropower Plant in Thailand Field Science Name Mr. Chatchawal Eimsiri Background of the Problem In the past, Hydropower plays a major role in Power Generation to accommodate power demand of household and industrial sectors which generally growth in parallel with economic expansion. However, the hydropower plant requires large scale of area and natural water sources to build a huge dam for propose of water reservoir and electricity production. Therefore, the government must be an operator of hydropower plant as to involve the wider public by expropriation of arable land, destruction of forest areas and natural water sources. These lead to aggressive resistance from society. As a result, raw material for electricity production has turned to use petroleum products such as coal, natural gas and petroleum which are classified as consumable resources and also being major cause of environmental pollution “Global Warming” from emission of carbon dioxide into the atmosphere. Another interesting material is Nuclear power plant for electricity generation. However, due to the safety, health, and environment concerns, this solution is still in process of feasibility study and impact on health and environment. Hydropower, therefore, is considered as a probable material for electricity production due to its lowest cost and renewable resources. The conventional system (Storage regulation development) shall be disregarded due to limitation above. To take advantage from hydropower, we should study and development unconventional system such as pumped storage plant which use less space to create major structure. The principal of its operation is to pump water from ground level to keep in upper level at night time since there is less demand in electricity during night time and create excessive electricity with lower cost. At day time, there is higher electricity’s demand, the plant willซ release water stored in upper level to ground level to generate electricity. The process will be applied again which can significantly save cost of production. Furthermore, hydro renewable energy management should focus on the small and medium-sized power plant. Government should encourage private sector in investment because the small and medium-sized power plant has lower cost comparing with convention dam and also use less space for its infrastructure. If the number of project is developed, it will help distribute electricity in many parts of the country, good for employment. The private sector will bring knowledge and expertise to develop hydropower plant. We believe that private sector is motivated by profit from the operation, thus, it is able to carry renewable energy power generation efficiency than the government which usually has limitations in terms of budget and time. Finally, the government shall have a support policy to encourage private sector in participating in the hydropower plant such as financing with low interest rates, tax and others. This will attract private sector to invest and develop the hydro renewable energy systems. Objectives of the Research 1. Aim to study the management system of the electricity production by hydropower, which will lead to the process, affect, and hydropower management system in Thailand and other countries. 2. Aim to study the possibility of increasing the role of private sector in hydropower management system in Thailand, including the policy that government should create and set the role model to support and encourage investor in private sector to invest in hydropower project. Literature Review In this study, the literature review consists of theoretical, conceptual framework, and the procedure to let the private sector involve in the management system of hydropower in Thailand. The document and related research as below; 1. Theoretical, conceptual framework regarding the hydropower and management system and structure in Thailand and other countries.ฌ 2. The way to increase the role of private sector as the hydropower management agency 3. Policy that private sector require support from government sector 4. Documents and related research regarding the current management procedure of hydropower, focusing on the developed countries, e.g. The United Stated etc. 5. The interview with honor specialist in hydropower The Research Framework 1. Focus on the hydropower; hydro renewable energy systems in developed countries and Thailand. 2. Develop the procedure to increase and enhance the role of private sector in recycle hydropower. The Process of the Research This study is the qualitative research by analyzing the procedure of hydropower in Thailand and comparing with other countries. This research focuses on the management process of the hydropower factory, aiming to enhance the role of private sector in hydropower management system in Thailand, including studying the procedure of the hydropower management from other countries and introduce the plan for hydropower in Thailand. Result 1. Due to economic growth, global demand for electricity trends to continually increase especially in China. In 2040, demand for electricity is forecasted to increase by 80% comparing with current demand. Industrial and household sector have the highest growth rate. In Thailand, the maximum power demand of the country continues to grow steadily and it is likely that electricity produced in the country may not be enough. This may eventually need to import electricity 2. The primary material for electricity generating is petroleum products such as natural gas, coal and oil. There petroleum products have price volatility which affect to pricing structure and production cost. It is also likely that the resource will be gone and may lead to lack of energy security if we cannot find alternative energy.ญ 3. Alternative energy is another interesting source of energy that increases recognition in producing electricity instead of petroleum product. This is alternative energy come from natural without any limited such as wind, sum and water power. It is also a clean energy and not harmful to environment. However, natural energy has some drawbacks that need to consider before selection. The major concern is that the natural power is not stable depending on climate and geography. If we have proper management system, the alternative energy for electricity production will be more popular, reduce production cost and strengthen energy security as well. 4. From the comparison of all type of alternative energy, researcher found that the hydropower is an attractive alternative to produce electricity. This is because hydropower is renewal power unlimited resource and can remain its quality after the production process. In addition, the generator for hydro power plant can immediately start and control capacity closing to the demand. This reflects high productive performance. Apart from electricity, hydropower plants can be benefit to community by increasing jobs, revenue and tourism. However, hydropower plant has some limitations that must be considered especially conventional power plant with a huge dam. Therefore, the development of hydropower plant should focus on developing small and medium-sized power plants. This will increase electricity in the system and distribute electricity to all area. 5. Study from best practice countries found that there are development and promotion of alternative power widely especially hydropower such as United Stated and Switzerland. Their main objectives are to promote long-term energy security and cost reduction. As a result, the electricity price will be cheaper and also enhance competitiveness in the delivered energy to neighboring countries as well. 6. Development and promotion of the hydropower plants, government should encourage private sector to be an investor and operator. The reasons are private sector has availability of resource, money and knowledge to improve government’s working process. In addition, the business was operated by the private sector aims to achieve maximum profits, creating business operations more effective and less risky than management by the government.ฎ Suggestion 1. Establishment of an organization to manage the usage of water resource. The current water management committees to oversee and manage the nation's water systems mainly concentrate on the problem of water shortage, promoting industrial and agricultural sectors, improving water quality and improving of flood protection system. However, there is no water management for the purpose of generating electricity. Consequently, the establishment of an agency to be responsible for only a hydropower plants will help government to manage water for all aspects and also improves the power reserves of the country. 2. Measures to encourage the private sector to join and invest in small and medium-sized hydropower plants for the country benefits. As mentioned above, allowing the private sector to participate in the hydropower plants will greatly benefit to the country. 3. Government shall carefully study the cost of production in order to construct the proper price mechanism. With the proper price mechanize, it would support the Power market and convince private companies to invest more in the Power industry, this would lower the cost of production in which result to the lower electricity cost. In addition, the government could have export the surplus electricity to their neighbor countries. The government must strongly commit the market via its policy to ensure the investor from their risk and uncertainty 4. The government must invest in infrastructure including power transmission system within the community linked to the production of electricity to create effectiveness in renewable energy use including the need to accelerate procedures for the establishment of a power plant with carefully inspection.