เรื่อง: แนวทางการเชื่อมโยงและบูรณาการข้อมูลภาครัฐในการให้บริการด้านการนำเข้า-ส่งออก
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง ชลิดา พันธ์กระวี
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการเชื่อมโยงและบูรณาการขอมูลภาครัฐในการใหบริการดานการนําเขา – สงออก
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผูวิจัย นางชลิดา พันธ+กระวี หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๗
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อใหทราบถึง วิธีการยกระดับการใหบริการภาครัฐ โดย
การกําหนดหลักการและแนวทางที่ชัดเจน สําหรับการเชื่อมโยงและบูรณาการขอมูลภาครัฐในการ
ใหบริการดานการนําเขา – สงออก
ผลจากการวิจัยพบวา หลักพื้นฐานในการออกแบบและพัฒนาบริการภาครัฐในการใหบริการดานการ
นําเขา-สงออกทั้งระบบ สําหรับกระบวนงานที่เป1นธุรกรรมที่เอกชนมีความเกี่ยวของกับภาครัฐ ในการยื่นคําขอให
เป1นไปตามพระราชบัญญัติการอํานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยจัดใหมี
การกําหนดใหยื่นคําขอผานสื่ออิเล็กทรอนิกส;แทนการมายื่นคําขอดวยตนเอง อีกทั้งจัดการกระบวนงานของการนําเขา–
สงออกทั้งหมดใหมีความชัดเจนและการลดขั้นตอนใหเหลือในรูปแบบเทาที่จําเป1น โดยมีการแบงประเภทของกระบวนงาน
ที่ตองมีปฏิสัมพันธ;และไมมีปฏิสัมพันธ;กับหนวยงานอื่น ๆ แลว จึงนําขอมูลทั้งหมดมาบูรณาการโดยการหาจุดเชื่อมของ
หนวยงานในแตละขั้นตอน เพื่อสรางกระบวนงานที่ลดปฏิสัมพันธ;และประกันเวลาของกระบวนงานทั้งหมด เพื่อนําไปสู
ขั้นตอนของการบูรณาการและเชื่อมโยงเอกสารที่จําเป1นในการนําเขา-สงออก โดยสามารถใชขอมูลรวมกันไดอยาง
สมบูรณ; และทําการการพัฒนาตอยอดเป1นระบบ Trade Gateway ในการใหบริการดานการนําเขา-สงออก
ฉะนั้นจึงควรปรับปรุง แนวทางการเชื่อมโยงและบูรณาการขอมูลภาครัฐในการใหบริการดานการ
นําเขา– สงออก ในการยื่นคําขอผานสื่ออิเล็กทรอนิกส;ระหวางเอกชนกับหนวยงานของรัฐหรือการสงผานขอมูล
ระหวางหนวยงานของรัฐดวยกันเอง โดยกําหนดใหใชมาตรฐานขอมูลที่เป1นสากล แตพัฒนากระบวนการอยางงายทาง
อิเล็กทรอนิกส;ที่มีการตอบรับอัตโนมัติที่เอื้อตอการอํานวยความสะดวกทางการคา และสอดคลองกับระบบงานที่
ภาคเอกชนมีอยูแลวและประชาชนสามารถเขาถึงไดโดยงาย เชน ระบบ National Contact Information System
(NCIS) สําหรับการยื่นเอกสารตามแบบฟอร;มยอยของแตละหนวยงาน โดยลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส; (Digital
Signature) และนําเทคโนโลยี Trusted electronic Document Authority (TeDA) ซึ่งเป1นการจัดเก็บเอกสาร
อิเล็กทรอนิกส; (e-Document) แบบถาวรมาใช โดยจัดตั้งระบบรับรองและจัดเก็บเอกสาร ดวยเทคโนโลยีโครงสราง
พื้นฐานกุญแจสาธารณะ (Public Key Infrastructure: PKI) ในการยืนยันตัวบุคคลทางอิเล็กทรอนิกส; รวมกับการ
บริหารจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส; โดยจัดเก็บเป1นฐานขอมูลกลางของประเทศ (Data Center)
สําหรับการสงผานขอมูลตอเชื่อมไปยังประเทศคูคาหรือการจัดทําใบขนสินคาในกระบวนการ
ศุลกากรไรเอกสาร ใหทําการเชื่อมโยงขอมูลในระบบ National Single Window (NSW) อยางเต็มรูปแบบ อีกทั้ง
ควรจัดใหมีหนวยงานที่ทํางานรวมกันแบบบูรณาการภายใตคณะกรรมการชุดเดียวในการกํากับดูแลมาตรฐานการ
จัดทําขอมูล และบริหารจัดการฐานขอมูลของชาติเพื่อใหเกิดความเป1นเอกภาพในการบริหารจัดการขอมูลของชาติ
ปฏิบัติงาน
abstract:
ABSTRACT
Title Approaches to Data Connection and Integration for
Import-Export Services in Public sector
Field Economics
Name Mrs. Chalida Phungravee Course NDC Class 57
The objective of this study was to explore approaches to public services
improvement by identifying clear principles and ways for data connection and integration for
import-export services in public sector.
The results of this study indicated fundamental principles in designing and
developing public sector’s import - export services for private-related transaction procedure
to apply request as required by the Act on Facilitation for Consideration of Approvals from
the Government Agencies, B.E. 2558. Instead of individual walk-in application, application is
conducted through electronics submission. Import-export procedures are efficiently managed
and sophisticated procedures are simplified. Work procedures are divided into two categories:
Interaction and Non-interaction work procedures with other agencies. After that, all data are
integrated by identifying connection points of agency in each procedure to produce work
procedures that reduce interaction and ensure certain time of the entire procedure. Then,
this leads to data connection and integration for import-export services and completion of
shared data, and extended development of Trade Gateway system for import-export service.
Therefore, data connection and integration for import-export services in public
sector should be improved through electronics application between private and public
agencies or between public agencies. International standard for data and simplified electronic
procedure should be developed to facilitate trade and to be consistent with existing work
system of private sector. All these should be available for people to have easy access.
For example, National Contact Information System (NCIS) is used to submit forms through
digital signature. Trusted electronic Document Authority (TeDA), a technology of permanent
storage of e-Document, is applied by installing support system and storing document with
Public Key Infrastructure (PKI) to authorize electronic individual identity along with eDocument management with Data Center Data transmission to connect to trading partners or the preparation of goods
transport documents in the Paperless Customs Procedures is conducted through National
Single Window (NSW). Moreover, agencies should collaborate and perform integrated work
under a single committee to regulate data preparation and national database management
to meet unity of managing data at national level.