Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การศึกษาแนวทางการพัฒนาและกระจายรายได้การท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย เจริญฤทธิ์ สงวนสัตย์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง การศึกษาแนวทางการพัฒนาและกระจายรายได้การท่องเที ยวของกล่มจังหวัด ุ ภาคเหนือตอนบน ๑ ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผ้วิจัย นายเจริญฤทธิ/ สงวนสัตย์ หลักส ู ูตร วปอ. ร่นที ๕๗ ุ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๑ มีความได้เปรี ยบของธรรมชาติ และ เอกลักษณ์ของ วัฒนธรรมล้านนาที(โดดเด่น โบราณสถานเมืองเก่าทางประวัติศาสตร์ และมีความพร้อมทางด้าน โครงสร้างพื.นฐาน สิ(งอํานวยความสะดวกที(เหมาะสําหรับนักท่องเที(ยว มีผู้ประกอบการภาคการ ท่องเที(ยวที(มีความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ในด้านการจัดการการท่องเที(ยว อีกทั.งจังหวัด เชียงใหม่ ซึ( งเป็ นศูนย์กลางของกลุ่มจังหวัด มีที(ตั.งเหมาะสมและมีโครงข่ายการคมนาคมเชื(อมโยงกบั ประเทศเพื(อนบ้าน พร้อมที(จะพัฒนาเป็ นศูนย์กลางการท่องเที(ยวของอนุภูมิภาคลุ่มนํ.าโขง ดังนั.น การศึกษาถึงรูปแบบของการพัฒนาการท่องเที(ยวที(ส่งผลให้เกิดการพัฒนาการท่องเที(ยวแบบยังยืน และ ( ก่อให้เกิดกระจายรายได้การท่องเที(ยวในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๑ อย่างเป็ นรูปธรรม จะเป็ น ประโยชน์ต่อส่วนราชการและภาคเอกชน สําหรับการกาหนดแนวทางการพัฒนาการท ํ ่องเที(ยวและ กระจายรายได้แก่จังหวัดภายในกลุ่มจังหวัด การศึกษาครั.งนี. กาหนดของเขตเฉพาะพื ํ .นที(ในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๑ ได้แก่ จังหวัด เชียงใหม่ ลําปาง ลําพูน และแม่ฮ่องสอน ในประเด็นของการท่องเที(ยวในแหล่งธรรมชาติ แหล่ง วัฒนธรรม และแหล่งความสนใจพิเศษ ซึ( งพบว่า การประชาสัมพันธ์การท่องเที(ยวอย่างต่อเนื(อง การ พัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ การส่งเสริมส่งเสริมให้รักษาวัฒนธรรม วิถีชีวิต ที(เป็ นเสน่ห์ของล้านนา อย่างจริงจัง การเพิ(มจํานวนบุคลากรภาคบริการท่องเที(ยว พัฒนาบุคลากรในภาคบริการท่องเที(ยวด้าน ทักษะภาษา ความรู้และทักษะการให้บริการ และปลูกฝังจิตสํานึกในการให้บริการ ตลอดจนการเป็ นเจ้า บ้านที(ดี จะสร้างความประทับใจให้นักท่องเที(ยว นอกจากนี. การสร้างความต่อเนื(องของนโยบายและ การบูรณาการปฏิบัติของส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ(น และภาคเอกชน จะทําให้เกิดการ พัฒนาและกระจายรายได้จากการท่องเที(ยวแก่จังหวัดภายในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๑ กล่าวโดยสรุป การพัฒนาและกระจายรายได้การท่องเที(ยวของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๑ ควรดําเนินการในด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และด้านสิ(งแวดล้อม ภายใต้หลักธรรมาภิบาล ที(ดี โดย การพัฒนาแบบยังยืน มุ ( ่งเน้นให้เกิดการพึ(งพาซึ( งกนและก ั นของสังคมและสิ ั (งแวดล้อม เกิดความสมดุล ระหว่างการใช้ทรัพยากรและสิ(งแวดล้อมในการพัฒนาเศรษฐกิจ เกิดความเท่าเทียมและเป็ นธรรมใน ด้านเศรษฐกิจและสังคม

abstract:

ABSTRACT Title A study on the development and distribution of tourism revenue in the Upper Northern Provincial Cluster 1. Field Economics Name Mr. Charoenrit Sanguansat Course NDC Class %& The Upper Northern Provincial Cluster 1 (UNPC 1) has numerous assets which include an abundance of beautiful nature points of interest, the uniqueness of the Lanna culture and many historical ruins in the old town to feature. The availability of infrastructure and facilities for tourists also boost this areas attractiveness. Plus, the tourism operators are knowledgeable in the field of tourism management and highly experienced. Further, the province of Chiang Mai, is located centrally in the UNPC 1 area and has a good network of transport links with Thailand’s neighboring countries. In addition, the UNPC 1 area has the potential to develop as a tourism hub for the Mekong Region. The objectives of this study were to find guidelines for tourism development that result in the development of sustainable tourism and a concrete income distribution throughout the UNPC 1 area. The results of this study would see all the provinces in the UNPC 1 group benefiting from a potentially increased income. Further, the propose tourism development plans can be used by both the government and the private sectors. This study covered only the UNPC 1 area which consists of the northern provinces of Chiang Mai, Lampang, Lamphun and Mae Hong Son. Only natural based tourism, cultural tourism and special interest tourism (health or medical, adventure, sport etc.) were considered. The results of this study conclude that the following changes will likely to improve tourism in these provinces for the noted types of tourism. That is, changes are needed in the: continuity in how tourism is promoted in the UNPC 1 area, an upgrade in the public transportation standards, more extensive cultural preservation of the charm seen in the Lanna life style, an increase in tourism personnel with consideration for the human resource development side of the industry, an increase in the language skills of the personnel or hosts, and, as well, an increase in the quality of the service skills or ‘good host’ skills that draw return tourist visits. Further, the continuation of -2- the policies in place together with an integration of suggested practices among government agencies, local government administration and private sector will contribute to the development and distribution of income from tourism to provinces in the UNPC 1. In conclusion, this study suggests that there should be a more equitable sharing of the tourism revenue from the Upper Northern Provincial Cluster 1 area among the social, economic and environmental shareholders or stake holders involved, that up hold the principles of good governance. Sustainable developments focused on the interdependence of social and environmental responsibility, are desired. It will be essential that a balance between resource use and regard for the environment exists as economic development are considered. Finally, gender equality and fairness in the economy and society should be up held.