เรื่อง: มาตรการที่ประสิทธิภาพในการปราบปรามการค้ามนุษย์ข้ามชาติในภูมิภาคอาเซียน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย จุมพล พันธุ์สัมฤทธิ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรืÉอง มาตรการทีมÉ ปีระสิทธิภาพในการปราบปรามการค
้
ามนุษย
์
ข
้
ามชาติในภูมภิาคอาเซียน
ลกัษณะวชิา การเมือง
ผ
ู้วจิัย นายจุมพล พนัธ
์ุสัมฤทธÍิ หลกัสูตรวปอ. รุ่นท ีÉ ๕๗
สถานการณ์การคา้มนุษยใ์นประเทศไทยปัจจุบนั พบวา่ ประเทศไทยเป็ นทัÊงประเทศตน้
ทาง ทางผ่าน และปลายทางของการคา้มนุษย์ ปัญหาการคา้มนุษยข์องไทยเกÉียวพนักบั ประเทศ
เพืÉอนบา้นในอาเซียนเป็นอย่างยÉิง การรวมตวัเป็นประชาคมอาเซียน มีแนวโน้มของการคา้มนุษย์
ขา้มชาติในภูมิภาคทีÉจะเพิÉมขึÊนและทวีความร้ายแรง รัฐบาลไทยทุกยุคได้ให้ความสําคญั กบัการ
แก้ปัญหาการคา้มนุษย์อาเซียนเองก็ให้ความสําคญั กบั ปัญหาการค้ามนุษยใ์นภูมิภาค โดยจดัให้
การคา้มนุษยเ์ป็นอาชญากรรมขา้มชาติประเภทหนÉึงทีÉตอ้งแกไ้ขโดยเร่งด่วน วตัถุประสงคข์องการ
วิจัยนีÊเพืÉอวิเคราะห์และเสนอแนะความร่วมมือ มาตรการ และกลไกระหว่างประเทศทีÉมี
ประสิทธิภาพในการปราบปรามการคา้มนุษยข์ า้มชาติในภูมิภาคอาเซียน ขอบเขตการวิจยัไดศ้ึกษา
สํารวจ เอกสารกฎหมายของไทย มาตรการและกลไกการปราบปรามการคา้มนุษยข์ า้มชาติของ
ต่างประเทศรวมทัÊงความตกลงและสนธิสัญญาระหวา่ งประเทศทÉีประเทศไทยและประเทศในกลุ่ม
อาเซียนเป็นภาคีวิธีการวจิยัเป็นการวจิยัเชิงคุณภาพ โดยสาํรวจศึกษาเอกสารกฎหมายและมาตรการ
กลไกต่างๆทัÊงของไทยและต่างประเทศ เพืÉอประมวลวิเคราะห์หานโยบาย มาตรการ และ
ขอ้ เสนอแนะทÉีมีประสิทธิภาพและเหมาะสมในการปราบปรามการคา้มนุษยข์ า้มชาติในภูมิภาค
อาเซียน
ผลการวิจยัพบว่ากฎหมายไทยเกีÉยวกับการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์
บัญญัติหลักการต่างๆได้สอดคล้องกับพิธีสารป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของ
สหประชาชาติ การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ขา้มชาติของต่างประเทศและองค์การ
ระหว่างประเทศ มีหลกัการสําคญั ทีÉคล้ายกนั โดยยึดหลกั 3P คือ การป้องกัน (Prevention) การ
คุม้ครอง (Protection) และการปราบปราม (Prosecution) นโยบาย มาตรการและกฎหมายทีÉมี
ประสิทธิภาพทีÉควรนาํ มาใช้ในกลุ่มประเทศอาเซียน รวมทÊงประเทศไทย คือ ั มาตรการป้องกนั ซึÉง
ถือเป็ นมาตรการเบืÊองต้นทีÉสําคญั ทÉีสุด มาตรการคุ้มครองช่วยเหลือเหยÉือซึÉงเป็ นการคุ้มครอง
ช่วยเหลือเยยีวยารักษาเหยอทั ืÉ Êงดา้นร่างกายและจิตใจให้กลบัคืนสภาพเดิมและแสวงหาความร่วมมือ
จากเหยืÉอในการปราบปรามผู้กระทําผิด สําหรับมาตรการปราบปรามหรื อการดําเนินคดีทีÉมี
ประสิทธิภาพ ไดแ้ก่ การกาํ หนดความผิดและนิยามของการคา้มนุษยให้ ์ มีความหมายเดียวกนั ทัÊง
อาเซียน การใชม้ าตรการทางภาษีการต่อรองคาํรับสารภาพ การลงโทษนิติบุคคลทีÉกระทาํผิด คณะ
พนักงานสอบสวนร่วม หมายจบั ร่วมอาเซียน สถานทีÉดาํ เนินคดีทีÉเหมาะสม การช่วยเหลือทาง
กฎหมายซึÉงกนัและกนั การส่งผรู้้ายขา้มแดน และการจดัตÊงัหน่วยงานประสานงานในอาเซียน
abstract:
Abstract
Title: Effective Measures to Combat Transnational Trafficking in Persons in ASEAN
Field: Politics
Name: Mr. Jumpon Phansumrit Course: NDC Class: 57
Thailand is currently the country of origin, transit and destination for trafficking in
persons. The trafficking situation in Thailand also significantly involves other ASEAN countries.
The integration of the ASEAN Community tends to increase the volume of trafficking in persons
and make it more serious. All previous and current governments of Thailand have continuously
focused on solving the problem of trafficking in persons. ASEAN also has an emphasis on
tackling this issue by setting trafficking in persons as a priority of transnational crimes in the
region. An objective of this research is to analyze and propose measures and mechanisms for
international cooperation to effectively combat transnational trafficking in the region. The scope
of this research is to examine laws and measures of Thailand and foreign countries in combating
trafficking in persons, including international agreements which Thailand and ASEAN countries
are parties. The methodology of the research is a qualitative study. After examination and study
of relevant laws and measures in Thailand and overseas, the author will analyze and recommend
effective policies and measures to combat transnational trafficking in persons in the region.
The research finds that Thai laws on prevention and suppression of trafficking in
persons are principally consistent with the Protocol to Prevent, Suppress and Punish Trafficking
in Persons, Especially Women and Children of the United Nations. The prevention and
suppression of trafficking in persons in foreign countries and organizations have similar
principles. The essential principle, named 3P, comprises Prevention, Protection, and Prosecution.
The research recommends several policies and measures to be used in ASEAN countries,
including Thailand to effectively tackle trafficking in persons in the region. First, measures to aid
prevention should be applied. Measures to protect and assist victims to physically and mentally
recover and to seek victim cooperation in cracking down on offenders, should be utilized. The
implementation of prosecution measures, namely; to maintain a uniform definition of trafficking
in persons throughout ASEAN, tax measures, plea bargaining, corporate criminal liability, joint
investigation, ASEAN arrest warrant, choice of forum to prosecute, mutual legal assistance,
extradition, and a regional coordinating agency, is recommended.