Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ยุทธศาสตร์การพัฒนางานข่าวกรองเพื่อความมั่นคงของชาติ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลเรือตรี จีระ เขียนวิจิตร
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง ยุทธศาสตรการพัฒนางานขาวกรองเพื่อความมั่นคงของชาติ ลักษณะวิชา การทหาร ผูวิจัย พลเรือตรีจีระ เขียนวิจิตร หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๗ การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ เพื่อสํารวจสภาวะแวดลอมที่มีผลตอการขาวกรองกองทัพไทย เพื่อศึกษาและวิเคราะหปญหาของการขาวกรองกองทัพไทยที่สนองตอบงานดานความมั่นคงแหงชาติ และเสนอแนะแนวทางในการกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาการขาวกรองเพื่อสามารถสนับสนุนงาน ดานความมั่นคงของชาติไดอยางมีประสิทธิภาพ การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษา นโยบายขาวกรองแหงชาติ แผนแมบท การปรับปรุงโครงสรางกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๐ โครงสรางการจัดองคกร แนวคิดและทฤษฎีที่ เกี่ยวของ ตลอดจนเอกสารทางราชการ บทความทางวิชาการ นิตยสาร สิ่งพิมพ ทั้งภาษาอังกฤษ ภาษาไทย สรุปผลการสัมมนาดานการขาว และสัมภาษณผูมีประสบการณและเชี่ยวชาญในระดับ ผูบริหารองคกรสายงานขาวกรองเพื่อความมั่นคง เก็บรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของจากแหลงขาวทั้ง ภายในและภายนอกกองทัพ นํามาวิเคราะห และกําหนดแนวทางในการแกปญหา สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ ไดแนวความคิดที่จะนํามาประยุกตใชในการแกปญหา การดําเนินงานดานขาวกรองเพื่อความมั่นคงของกองทัพไทย ดวยการปรับโครงสรางการจัดหนวยงาน ที่รับผิดชอบดานการขาวของกองบัญชาการกองทัพไทย เพื่อใหสามารถรองรับภัยคุกคามในปจจุบัน และมีเอกภาพ รวมถึงสรางความเขาใจในงานดานการขาวใหกับผูบังคับบัญชาระดับสูงเพื่อใหทราบถึง ความรับผิดชอบของหนวยงานขาวแตละหนวย ขีดความสามารถของหนวยขาว และขอจํากัดตาง ๆ นอกจากนี้ยังไดแนวความคิดในการปรับปรุงการบริหารจัดการดานการขาวใหมีประสิทธิภาพ ดวยการ เขมงวดกวดขันในการดําเนินการตามวงรอบขาวกรอง การพัฒนาฐานขอมูลรวมดานการขาวเพื่อใช ประโยชนจากขอมูลขาวสารรวมกัน ซึ่งทําใหประหยัดงบประมาณ เวลาและกําลังพลในการรวบรวม ขาวสารที่ซ้ําซอน สําหรับปญหากําลังพลมีแนวทางในการพัฒนากําลังพลไดแก การบริหารจัดการ กําลังพลสายงานขาวโดยมุงเนน การสรรหาการบรรจุที่ตรงตามคุณสมบัติที่ระบุไวในตําแหนง การ โยกยายที่เปนระบบ โดยมุงใหความสนใจตอการโยกยายกําลังพลใหสามารถผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนรับ ราชการในสายงานขาวตามตําแหนงที่เหมาะสมโดยการดําเนินการแบบรวมการของหนวยแมที่ ควบคุม กํากับดูแลกําลังพลสายงานขาว โดยมิใหตองเปนภาระของกําลังพลในการวิ่งเตนหาตําแหนง ที่สูงขึ้นหรือหาตําแหนงงานที่เหมาะสมกับความรูความสามารถ นอกจากนี้ควรมีการสรางแรงจูงใจข และการเจริญเติบโตในสายงานอาชีพขาว (Career Path) เพื่อเปนแรงจูงใจใหกําลังพลสายงานขาว สมัครใจที่จะอยูปฏิบัติงานในสายงานขาวโดยไมเปลี่ยนไปรับราชการหรือปฏิบัติงานในสายงานอื่น

abstract:

Abstract Title: Development Strategy on Intelligence for National Security Field: Military Name: RADM Cheera Khienvichit Course NDC Class 57 This research has objectives to survey the environment that affects the intelligence of the Royal Thai Armed Forces, to study and analyze the problems on intelligence of the Royal Thai Armed Forces that respond to the national security, and to suggest guidelines on determining the strategy on intelligence development that can support national security work efficiently. This research is the quality research that studies the National Intelligence Policy, the 2007 Ministry of Defence’s Restructuring Master plan, organizational structure, relevant concepts and theories as well as official documents, academic articles, magazines, and printings both in Thai and English, summaries of intelligence seminars and interviews of the experienced persons and experts at the administrative level on intelligence for security as well as collecting relevant data from sources both inside and outside the Armed Forces, all of which have been analyzed and determined as guidelines for problem solving. Research summary and suggestions bring about the concept that can be applied to solve the problems on intelligence implementation for security of the Royal Thai Armed Forces. This can be done by restructuring the agencies that are responsible for intelligence of the Royal Thai Armed Forces so that they can cope with current threats in a unity manner, promoting understanding on intelligence to high level commanders to be informed of the responsibilities, capabilities, and limitations of each intelligence agency. In addition, this research gives a concept on how to improve intelligence administration for efficiency by imposing strict measures on conducting intelligence circle, to develop shared information data base for mutual benefits which can save budget, time, and personnel in redundant information collection. As for the problem on personnel, the research suggests a guideline on personnel development by administering personnel on intelligence. This can be done by direct recruitment of qualified personnel who possess the desirable qualities as specified in the positions, transferring the personnel in a systematic manner focusing on the appropriate positions in integration by the parent unit, supervising the personnel on intelligence field so that they do not need to pull string for higher positions or suitable positions that are fit for their capabilities. Moreover, motivation and growth in career path should be promoted for the personnel in intelligence field so that they will volunteer to work in this line without changing to work in other fields.