Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการแก้ปัญหาการค้ามนุษย์เพื่อความมั่นคงของประเทศ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตำรวจตรี จารุวัฒน์ ไวศยะ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการแกป้ัญหาการคา้มนุษยเ์พื่อความมนั่ คงของประเทศ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิยั พลต ารวจตรีจารุวัฒน์ ไวศยะ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 57 การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการแก้ปัญหาการค้ามนุษย์ใน ประเทศไทย ที่ส่งผลกระทบต่อความมนั่ คงของประเทศ โดยอาศัยเครื่ องมือ ได้แก่ การศึกษา วิเคราะห์จากเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง การศึกษาและวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค Focus Group ของ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน และประสบการณ์ตรงของผู้ศึกษา ผลการศึกษาพบว่าปัญหา การไม่เข้าใจนิยามการค้ามนุษย์ ซึ่งเป็ นเหตุส าคัญท าให้หน่วยงานต่างๆ ไม่สามารถด าเนินงานกับ กระบวนการค้ามนุษย์ได้เต็มที่ ปัญหาเกี่ยวกับข้อกฎหมาย กฎหมายที่ใช้ในการปราบปรามการค้า มนุษย์ปัจจุบันเป็ นกฎหมายที่น ามาบังคับใช้กับพฤติการณ์ที่เข้าข่ายกระท าผิดกฎหมาย แต่ยังไม่มี กฎหมายเฉพาะการเอาผิดการค้ามนุษย์ ข้อจ ากัดในการท างานของทีมสหวิชาชีพ เน้นกระบวนการ เชิงต้งัรับมากกว่าการทา งานเชิงรุก ปัญหาเกี่ยวกบัการตอ้งรับผดิชอบภาระหน้าที่ที่หลากหลายของ บุคลากรที่เกี่ยวข้องข้อจ ากัดในเรื่องของการเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการท างานของชุมชน การ ไม่ให้ความร่วมมือของเหยื่อ ข้อจ ากัดในการติดตามผลการด าเนินงาน ปัญหาเกี่ยวกับงบประมาณใน การขับเคลื่อนกระบวนการด าเนินงานก็มีอยู่อย่างจ ากัด โดยได้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย คือปัญหา ด้านการบังคับใช้กฎหมายควรมีการทบทวน และพิจารณากฎหมายที่เกี่ยวข้องใหม่ เพื่อให้เกิด การบูรณาการในการปฏิบัติหน้าที่ และมีความเข้าใจที่ตรงกันในการด าเนินงาน มีนิยามความหมาย ของค าว่า การค้ามนุษย์ ที่มีทิศทางเดียวกันทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในระดับปฏิบัติโดย กระทรวง พฒั นาสงัคมและความมนั่ คงของมนุษย์เป็นผรู้ิเริ่มเพราะเป็นหน่วยงานหลกั และมีความสา คญั ต่อ กรณีศึกษาโดยตรง กลไกขับเคลื่อนงานป้ องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ ควรมีความพยายาม ในการสร้างกลไกขับเคลื่อนการท างานที่หลากหลาย ข้อเสนอแนะในการน าไปปฏิบัติปัญหาการไม่ เข้าใจนิยามการค้ามนุษย์ในระดับปฏิบัติควรก าหนดนิยามความหมายให้ชัดเจนครอบคลุม เป็ น รูปธรรม สอดคล้องกับความเป็ นจริง เป็นสิ่งสา คญั ข้อจ ากัดในเรื่องของการเข้ามามีส่วนร่วมใน กระบวนการท างานของชุมชนควรให้ประชาชน/ชุมชน เข้ามีมามีบทบาทน าในการเป็ นหูเป็ นตา ให้กับทางราชารเป็นพลงัในการดูแลสงัคม ชุมชน ไม่ใหม้ีกระบวนการคา้มนุษยเ์กิดข้ึน ข้อจ ากัดใน การติดตามผลการด าเนินงานในแต่ละโครงการ ควรมีการจัดท าฐานข้อมูลที่ส าคัญเกี่ยวกับ กระบวนการการค้ามนุษย์ และเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ต่อสังคมให้ได้รับรู้รับทราบ

abstract:

Abstract Title Proposed Solutions to Trafficking in Persons Field Social psychology Name Pol.Maj.Gen.Jaruwat Waisaya Course NDC Class 57 The objective of this research was to study Trafficking in Persons issues that threatened Thailand’s national security, and corresponding solutions. The study had been done by examining researches and documents along with conducting a focus group discussion with government officials concerned. The study revealed that unclear definition of Human Trafficking made officials could not find fault with organized criminal group in some cases. Penalties stated in the Anti-Trafficking in Persons Act B.E. 2551 (2008) are for acts as offenders of trafficking not the trafficking. Moreover, limitation of officials authority and cooperation, as well as inadequate of supporting budget brought on ineffective suppression of Trafficking in Persons in Thailand. It is recommended that the review and redefinition (the term) of Trafficking in Persons should be initiated by the Ministry of Social Development and Human Security in order to create a clear understanding of trafficking. Consequently, the special law and more appropriate measurements to prevent, suppress, and punish Trafficking in Persons should be enforced. For operational level, plans of action against Trafficking in Persons should be launched accordingly. Moreover, the government agencies concerned should find more cooperations from other government agencies, private sectors, and individual persons.