เรื่อง: การลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ กับการเพิ่มศักยภาพเศรษฐกิจไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง จันทวรรณ สุจริตกุล
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การลงทุนโดยตรงในตางประเทศกับการเพิ่มศักยภาพเศรษฐกิจไทย
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผูวิจัย นางจันทวรรณ สุจริตกุล หลักสูตร วปอ. รุนที่57
ประวัติศาสตร"การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอุตสาหกรรมที่ผานมาล)วนแตมีตัวอยางของ
การออกไปลงทุนในตางประเทศ ไมวาจะโดยการสร)างเครือขายธุรกิจ เข)าซื้อกิจการ หรือ ควบรวมกิจการ
กับบริษัทในตางประเทศ โดยน)อยนักจะมีตัวอยางของประเทศอุตสาหกรรมที่สามารถพัฒนาเศรษฐกิจและ
ยกระดับความเป1นอยูของประชากรได)จากการดําเนินนโยบายที่มุงเน)นการลงทุนแตในประเทศเป1นหลัก จึง
นับวาการลงทุนในตางประเทศเป1นยุทธศาสตร"สําคัญของการพัฒนาประเทศและมีบทบาทสําคัญในการ
ยกระดับการแขงขันของธุรกิจและของประเทศให)เป1นที่รู)จักและสามารถแขงขันได)ในระดับโลก ทั้งในแง
ของการเพิ่มชองทางของตลาด การเข)าถึงทรัพยากรธรรมชาติ วัตถุดิบ เทคโนโลยี และแรงงานที่หาได)ยาก
ในประเทศของตนเอง อีกทั้ง ยังชวยในด)านของการกระจายความเสี่ยงของภาคธุรกิจจากที่เคยทําแตธุรกิจ
ที่กระจุกตัวอยูในประเทศตนเอง หรือพึ่งพิงตลาด แรงงาน และแหลงวัตถุดิบในประเทศเป1นหลัก
เส)นทางการพัฒนาของเศรษฐกิจไทยก็คงจะไมตางจากประสบการณ"ของประเทศ
อุตสาหกรรม บทวิจัยนี้จึงมุงเน)นที่จะศึกษาวา การลงทุนโดยตรงในตางประเทศของไทยที่ผานมาได)สร)าง
ประโยชน"ให)แกประเทศอยางไร ผานชองทางไหนบ)าง รวมถึงศึกษาถึงป8ญหาอุปสรรคที่เป1นข)อจํากัดของ
กลุมธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม (Small and Medium Enterprises –SMEs) ที่ต)องการจะออกไป
ลงทุนในตางประเทศแตยังไมประสบความสําเร็จ เพื่อเสนอแนะแนวทางและนโยบายการสนับสนุนการ
ลงทุนในตางประเทศและการแก)ไขป8ญหาอุปสรรคตางๆ เชน 1) มาตรการสนับสนุนทางด)านภาษี ระเบียบ
กฎเกณฑ"และแรงจูงใจในการลงทุนในตางประเทศ 2) การมีหนวยงานกลางที่ทําหน)าที่ให)คําปรึกษา
แนะนํา ชวยแก)ไขป8ญหาข)อพิพาท รวมทั้งให)ข)อมูล และ สนับสนุนการออกไปลงทุนโดยตรงในข
ตางประเทศ 3) การเพิ่มชองทางในการระดมทุนเป1นเงินตราตางประเทศ เพื่อชวยกิจการที่ยังไมเป1นที่รู)จัก
ในตางประเทศให)มีชองทางระดมทุนที่แขงขันได) เป1นต)น โดยการศึกษาประสบการณ"และมาตรการ
สนับสนุนการลงทุนโดยตรงของประเทศตาง ๆ ทั้งที่เป1นประเทศอุตสาหกรรมที่พัฒนาแล)ว และประเทศ
เพื่อนบ)านของไทยที่ประสบความสําเร็จในการผลักดันให)กิจการของตนออกไปลงทุนในตางประเทศ ซึ่งใน
สวนของประเทศไทยเองได)เริ่มมีมาตรการสนับสนุนให)ภาคเอกชนไทยออกไปลงทุนในตางประเทศบ)างแล)ว
แตยังมิได)ทําในลักษณะการผลักดันให)เป1นวาระแหงชาติที่จะผลักดันมาตรการสนับสนุนที่ครบถ)วน จูงใจ
และบูรณาการระหวางสวนงานที่เกี่ยวข)องอยางพร)อมเพรียงกัน
คําสําคัญ : การลงทุนโดยตรงในตางประเทศ, ความสามารถในการแขงขันของไทย, ป2ญหาอุปสรรคใน
การลงทุน, นโยบายภาษีเพื่อสนับสนุนการลงทุน, วาระแหงชาติ
abstract:
ABSTRACT
Title Outward Foreign Direct Investment and Thailand's Economic
Competitiveness
Field Economics
Name Mrs. Chantavarn Sucharitakul Course NDC Class 57
Outward foreign direct investment (OFDI) plays a strategic role in the
development path of a country. Few advanced countries have developed solely
through an internal growth process without the need to raise the competitiveness of its
domestic firms and putting them on the global map as a global player. OFDI provides
avenue for domestic private sector to access new markets, source more competitive
labour and raw materials, as well as acquire more advanced technology or intellectual
property rights. Moreover, OFDI increases efficiency by diversifying the risks associated
with reliance on domestic markets and factors of production. This is an important risk
mitigant against uneven revenue performance across region or geopolitical risks.
This study aims to look into the benefits OFDI generates for Thailand in terms
of its contribution to the economy, identifying the obstacles and limitations faced by
smaller Thai firms seeking to invest overseas. The paper then propose measures for
consideration to address such obstacles, such as 1) enacting favorable tax regimes and
incentives, 2) establishing a central one stop services dedicated to promoting OFDI
through provision of basic public services, such as advisory, market research and legal 2
services 3) increasing channels for raising foreign currency funding to help SMEs whose
names are not yet well established in overseas market. The study will also compare the
experiences of leading countries as well as measures taken to promote OFDI. Individual
Thai government agencies have pursued policies to promote private sector outbound
investment through recourse to measures within their mandate. The paper advocates an
integrated and holistic policy approach that will bring durable benefit if such a policy
priorities were raised as a national agenda. Both advanced and developing countries
have OFDI promotion policies. Thailand should consider this an important policy priority
by wielding the powers and resources of each government agencies towards promoting
OFDI.
Keywords : Outward Foreign Direct Investment, competitiveness of the Thai private
sector, Investment obstacles , Tax regimes, National agenda