เรื่อง: การใช้เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตเป็นเครื่องมือในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย จักรี ศรีชวนะ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การใชเอกสิทธิ์และความคมุ กันทางการทูตเปนเครื่องมือในการดําเนิน
ความสัมพันธระหวางประเทศ
ลักษณะวิชา การเมือง
ผูวิจัย นายจักรี ศรีชวนะ หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๗
ในการดําเนินความสัมพันธระหวางประเทศ “ผูแทนทางการทูต” หรือ “นักการทูต” คือ
บุคคลที่มีบทบาทสําคัญในฐานะตัวแทนของรัฐหนึ่งที่ถูกสงไปปฏิบัติหนาที่ในอีกรัฐหนึ่ง และเพื่อใหการ
ใชชีวิตและการปฏิบัติหนาที่ของนักการทูตเปนไปอยางราบรื่น จึงไดมีการกําหนดกฎกติการะหวาง
ประเทศขึ้นภายใต “อนุสัญญากรุงเวียนนาวาดวยความสัมพันธทางการทูต ค.ศ. ๑๙๖๑ ซึ่งถือไดวา
เปนอนุสัญญาที่สําคัญที่สุดในการวางกฎระเบียบดานความสัมพันธทางการทูตไวอยางครอบคลุมและ
เปนที่ยอมรับของนานาประเทศ อยางไรก็ดี เมื่อเวลาผานไป ไดเกิดประเด็นปญหาที่เกี่ยวกับการนํา
เอกสิทธิ์และความคุมกันทางการทูตมาใชเปนเครื่องมือในการดําเนินความสัมพันธทางการทูต โดยใน
กรณีของประเทศไทยนั้น “พระราชบัญญัติวาดวยเอกสิทธิ์และความคุมกันทางการทูต พ.ศ. ๒๕๒๗”
ซึ่งถูกตราขึ้นเพื่ออนุวัติการอนุสัญญากรุงเวียนนาวาดวยความสัมพันธทางการทูตฯ และเปนกฎหมาย
ฉบับเดียวที่ประเทศไทยใชในการดาํ เนินความสัมพันธทางการทูตของไทยกับตางประเทศ ไดกลายเปน
เครื่องมือใหนักการทูตที่มีเจตนาไมบริสุทธิ์นํามาใชไปในทางที่ไมถูกตอง รวมทั้งเกิดมีประเด็นใหมๆ ซึ่ง
เกี่ยวของกับการใชชองวางทางกฎหมาย เพื่อประโยชนตอตนเองมากขึ้น
เอกสารศึกษาวิจัยฉบับนี้มีเปาหมายที่จะศึกษาปญหาความทาทายที่เกิดขึ้นจากขอเรียกรอง
ของนักการทูตตางประเทศในประเทศไทย รวมทั้งศึกษาเนื้อหาของพระราชบัญญัติเอกสิทธิ์และ
ความคุมกันทางการทูต พ.ศ. ๒๕๒๗ วาสมควรจะไดรับการพัฒนา แกไข ปรับปรุงไปในทิศทางใด ซึ่งจาก
การศึกษาพบวา อุปสรรคสําคัญนอกจากจะมาจากความไมทันสมัยของพระราชบัญญัติเอกสิทธิ์และ
ความคุมกันทางทูตซึ่งเปนกฎหมายหลักแลว ยังเกิดจากปญหาเทคนิคในตัวกฎหมายที่ไมไดใหอํานาจ
กระทรวงการตางประเทศในการออกกฎหมายลําดับรองไวดวย ดวยเหตุนี้ การปรับปรุงพระราชบัญญัติ
เอกสิทธิ์และความคุมกันทางทูต พ.ศ. ๒๕๒๗ จึงมีความจําเปน เพื่อใหประเทศไทยมีกฎหมายที่ทันสมัย
ในการอํานวยความสะดวกแกนักการทูต โดยมีการบังคับใชกฎหมายที่มีประสิทธิภาพ มีขั้นตอนที่ไม
ซับซอน สะดวก รวดเร็ว และมีมาตรฐานการปฏิบัติการ บังคับใชกฎหมายที่เทาเทียม ไมเลือกปฏิบัติ อัน
จะทําใหสามารถใชเอกสิทธิ์และความคุมกันทางการทูตเปนเครื่องมือในการดําเนินความสัมพันธระหวาง
ประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในการมีปฏิสัมพันธกับคณะผูแทนทางการทูตตางประเทศที่ประจําการอยูข
ในประเทศไทยไดอยางเหมาะสม ทันตอยุคสมัยและบริบทของสังคมโลก ที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งจะมีสวน
สงเสริมบรรยากาศและสรางความพรอมใหประเทศไทยกาวสูการเปนศูนยกลางที่ตั้งของคณะผูแทน
ตางประเทศและองคก ารระหวางประเทศของเอเชีย (Geneva of Asia) ไดเปนอยางดี
abstract:
Abstract
Title Privilege and Immunity and the conduct of International
Relations
Field Politics
Name Mr. Chakri Srichawana Course NDC Class 57
In the conduct of the international relations, “diplomatic agent” or
“diplomat” is a person who represent interests and policies of the sending states.
The 1961 Vienna Convention on Diplomatic Relations has been recognized as an
international treaty that extensively outlines the fundamental framework of
diplomatic relations between states. The Convention is regarded as the most
important instrument that codifies rules and regulations for the exchange of envoys
between states. The Convention helps enable diplomats to perform their function
efficiently and also lays out legal “obligation” for diplomats. To implement the said
Convention, Thailand has enacted the Diplomatic Privilege and Immunity Act in 1984
to serve as a sole guiding principle to govern conducts of diplomatic agents for Thai
law enforcement agencies. Nonetheless, the basic principle of “privileges and
immunities” and “inviolability” set forth in the Convention has been widely
misinterpreted and used by some diplomats to serve their personal interests. Over
the years, it has been frequently observed that many abusive diplomats have used
the existing legal loopholes on privileges and immunities for their personal
advantage.
This dissertation aims at addressing challenges towards the efficacy of
domestic law enforcement derived from the abuse of privileges and immunities by
foreign diplomats stationed in Thailand as well as reviewing and evaluating whether
and how the 1984 Diplomatic Privilege and Immunity Act should be amended. The
study disclosed that aside from some of its obsolete provisions, a major hindrance
to the effective implementation of the 1984 Act is that the Ministry of Foreign Affairs
lacks legislative power to enact subordinate legislation to exercise relevant rules and regulations. The findings therefore suggest that a revision of legislation under the
1984 Act and its related provisions is essential in order to maintain the fundamental
principle of diplomatic privileges and immunities as well as to standardize, simplify,
and strengthen domestic law enforcement regulating conducts of foreign diplomats
in Thailand. Meanwhile, such amendments should help facilitate functional necessity
of foreign diplomats without prejudice and discrimination that is in conformity with a
basic concept of the 1961 Vienna Convention on Diplomatic Relations and in
correspondence with an evolving geopolitical context. In essence, amidst the rapidly
changing global environment, the amendments of the 1984 Diplomatic Privilege and
Immunity Act should allow Thailand to deal with foreign diplomats more effectively
and appropriately. This mechanism will also enable Thailand to strengthen closer
relations with its allies based on mutual interests and on an equal footing as well as
enhance Thailand’s strategic position as a center of diplomatic missions and
international organizations in Asia or “Geneva of Asia.”