Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหาร สังกัดกองบัญชาการกองทัพไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลอากาศตรี จักรินทร์ ขจรบุญ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการพัฒนาภาวะผูนําของผูบริหาร สังกัดกองบัญชาการกองทัพไทย ลักษณะวิชา การเมือง ผูวิจัย พลอากาศตรีจักรินทรขจรบุญ หลักสูตร วปอ. รนุ ที่57 การวิจัยเรื่อง “แนวทางการพัฒนาภาวะผูนําของผูบริหาร สังกัด กองบัญชาการกองทัพไทย” มีวัตถุประสงคเพื่อ 1. เพื่อศึกษาภาวะผูนําของผูบริหาร ตามความคิดเห็นของขาราชการ สังกัด กองบัญชาการกองทัพไทย 2.เพื่อเปรียบเทียบภาวะผูนําของผูบริหาร ตามความคิดเห็นของขาราชการ สังกัด กองบัญชาการกองทัพไทย จําแนกตามสถานภาพสวนบุคคล (เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับ การศกึษา รายไดเฉลี่ยตอเดือน อายุการทํางาน สถานภาพการทํางาน ) 3.เพื่อเสนอแนะแนวทางการ พัฒนาภาวะผูนําของผูบริหาร สังกัด กองบัญชาการกองทัพไทย กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย คือ กําลังพล ของกองบัญชาการกองทัพไทย (ยกเวน นายทหารชั้นนายพล) ประกอบดวย นายทหารชั้นสัญญาบัตร และนายทหารชั้นประทวน (พื้นที่แจงวัฒนะ) จํานวน 324 คน สุมมาจากกําลังพลของ กองบัญชาการ กองทัพไทย โดยใชสูตรการหาขนาดของกลุมตัวอยางของ ยามาเน (Yamane) เครื่องมือที่ใชในการเก็บ รวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถาม มีความเชื่อมั่นเทากับ 0.7994 วิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมสําเร็จรูป สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การ วิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว และทดสอบความแตกตางคา เฉลี่ยรายคู โดยวิธีการทดสอบของฟช เชอร ผลการวิจัยครั้งนี้พบวา คุณลักษณะผูนําของผูบริหารระดับผูอํานวยการกอง กองบัญชาการ กองทัพไทย ภาพรวม 4 ดาน อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยมาก ไปนอย ดังนี้ ดานการตัดสินใจของผูนํา รองลงมา ดานบุคลิกภาพของผูนํา ดานคุณธรรมจริยธรรมของ ผูนํา และดานความรูความสามารถของผูนํา ตามลําดับ ผลการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยระดับคุณลักษณะ ผูนําของผูบริหารระดับผูอํานวยการกอง กองบัญชาการกองทัพไทย จําแนกตาม เพศ สถานภาพสมรส อายุการทํางาน สถานภาพการทํางาน พบวา ไมแตกตางกัน สวน อายุ ระดับการศึกษา แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และ .05 ตามลําดับ แตกตางกันในดานบุคลิกภาพของผูนํา ดานคุณธรรมจริยธรรมของผูนํา ตามลําดับ ขอเสนอแนะที่ไดจากผลการวิจัยในครั้งนี้ คือ 1. ควรนําแนวทางการพัฒนาภาวะผูนําของ ผูบริหาร สังกัด กองบัญชาการกองทัพไทยที่กําหนดไปทดลองใชกับผูบริหาร เพื่อศึกษาประสิทธิภาพ ของแนวทางการพัฒนาภาวะผูนําของผูบริหาร สังกัด กองบัญชาการกองทัพไทยครั้งนี้วาในทางปฏิบัติข จริงมีประสิทธิภาพเพียงใด ควรมีการปรับปรุงอยางไร 2. ควรมีการศึกษา และดําเนินการพัฒนาแนว ทางการพัฒนาภาวะผูนําของผูบริหาร สังกัด กองบัญชาการกองทัพไทย ดานอื่นๆ เชน ดานพฤติกรรม ดานเจตคติ

abstract:

Abstract Title Trend of Leadership Development for the Royal Thai Armed Forces Headquarters' Executives Field Politics Name Air Vice Marshal Jakarin Kajornboon Course NDC Class 57 The research “Trend of Leadership Development of the Royal Thai Armed Forces Headquarters' Executives” aims to 1. study the executives' leadership from the views of the Royal Thai Armed Forces Headquarters’ personnel 2. compare the executives' leadership from the views of the personnel of the Royal Thai Armed Forces Headquarters classified by individual status (gender, age, marital status, education, salary, years of working, and working conditions) and 3. suggest the trend of leadership development for the Royal Thai Armed Forces Headquarters' executives. The research's sample group came from the personnel of the Royal Thai Armed Forces Headquarters (except the general – ranked ones) comprising 324 commissioned and non - commissioned officers. They were randomized from the Royal Thai Armed Forces Headquarters' personnel using Yamane's formula for calculating the sample size. Surveys were used to collect data with the reliability at 0.7994 in which the data were later analyzed by computer program. The statistics implemented in the data analysis meanwhile were percentage, mean, standard deviation, T-Test, One-Way ANOVA, and Fisher's Post-Hoc test. It is found that the overall qualities of the Royal Thai Armed Forces Headquarters' executives at director rank are at high level in all 4 dimensions. When classified individually from the highest to the lowest percentage, it can be viewed in these following dimensions respectively: executives’ decision; executives’ personality; executives’ ethics and moral, and executives’ knowledge and ability. When the percentage of the leadership quality of the Royal Thai Armed Forces Headquarters' executives at director level are compared using classification based on gender, age, marital status, years of working, and working conditions, it is found that there is no difference. However, when using age and education as the classification, it shows the statistical significance at .001 and .05 respectively in terms of the executives’ personality and their ethics and moral. There are two suggestions from the research. Firstly, the trend of leadership development of the Royal Thai Armed Forces Headquarters' executives should be tested among the executives in order to study how the trend, when implemented in the real situation, can be efficient and whether it needs any adjustments. Secondly, further studies and implementation of the trend of leadership development of the Royal Thai Armed Forces Headquarters' executives in other aspects such as behavior and attitude should be established.