เรื่อง: โครงสร้างการจัดหน่วยที่เหมาะสมสำหรับการแก้ไขปัญหาการก่อเหตุรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก จะนะ ปรีชา
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง โครงสรางการจัดหนวยที่เหมาะสมสําหรับการแกไขปญหาการกอเหตุ
รุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตรดานการทหาร
ผูวิจัย พันเอก จะนะ ปรีชา หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๗
วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อตองการทราบวา โครงสรางการจัดหนวยที่เหมาะสมสําหรับ
การแกไขปญหาการกอเหตุรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต ควรประกอบดวยหนวยงานและกําลัง
อะไรบาง ประมาณจํานวนเทาไร และควรมอบภารกิจอะไรใหกับหนวยนั้นๆ วิธีดําเนินการวิจัย ดวย
การวิเคราะหการจัดหนวยและกําลังเขาแกไขปญหาจังหวัดชายแดนภาคใตตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน
บรรลุวัตถุประสงคตามตัวชี้วัดหรือไม เชน สงผลตอสถานการณความรุนแรงไปในทิศทางที่ดีขึ้นหรือไม
อยางไร วิถีชีวิตของประชาชนเขาสูภาวะปกติ รูสึกมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินมากขึ้น
หรือไม เปนตน เนื้อหาของเอกสารเปนการรวบรวมขอมูลและสถิติ การสังเกตการปฏิบัติงานของ
หนวยงานและกําลังประเภทตางๆ การสังเกตการดํารงชีวิตประจําวันของประชาชนโดยตรง
ผลการวิจัยพบวา ถึงแมจะมีการปรับการจัดหนวยมาอยางตอเนื่องทุกปแตก็ยังไมมีเอกภาพและ
การบูรณาการ สาเหตุหนึ่งเกิดจากความเกรงใจกันและเอื้อผลประโยชนกันในการจัดทําโครงสรางการ
จัดหนวย จึงมีหนวยงานและกําลังพลเปนจํานวนมากอยูในโครงสรางการจัด ในขณะที่ผลการ
วิเคราะหชี้ใหเห็นวา จํานวนกําลังจะมากหรือนอยก็ไมไดสงผลตอสถิติการกอเหตุรุนแรง แตการจัด
กําลังพลที่มีประสิทธิภาพและการปฏิบัติงานของหนวยที่มีอุดมการณโดยยึดผลประโยชนแหงชาติเปน
ปจจัยสําคัญในการแกไขปญหาจังหวัดชายแดนภาคใต
ขอเสนอแนะในดาน โครงสรางการบริหารจดการแกไขปญหาจังหวัดชายแดนภาคใตนั้น
ควรออกพระราชบัญญัติการบริหารจัดการแกไขปญหาการกอเหตุรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใตขึ้น
เปนการเฉพาะ เพื่อใหมีเอกภาพในการบังคับบัญชาและสามารถใชศักยภาพของหนวยงานปกติที่รับ
ผดชอบอยูแลวใหเกิดประโยชนสูงสุด คุมและประหยัดงบประมาณของแผนดินที่สุด โดยโครงสราง
การบริหารจัดการมี๓ ระดับ ไดแก ระดับนโยบาย ควรใหนายกรัฐมนตรีเปนผูรับผิดชอบสูงสุด โดยมี
สํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติทําหนาที่ใหคําปรึกษาและเสนอแนะงานดานความมั่นคง และ
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติทําหนาที่ใหคําปรึกษาและเสนอแนะ
งานดานการพัฒนา, ระดับแปลงนโยบายสูการปฏิบัติควรใหกองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายใน
ราชอาณาจักรเปนหนวยงานหลัก มีอํานาจหนาที่ในการบูรณาการงานการแกไขปญหาจังหวัดข
ชายแดนภาคใตขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตรการแกไขปญหาจังหวัดชายแดนภาคใต พิจารณา
เสนอความเห็นดานแผนปฏิบัติการ แผนงาน โครงการ และการจัดตั้งงบประมาณในการแกไขปญหา
จังหวัดชายแดนภาคใต รวมทั้งแนวทาง มาตรการดําเนินการที่เกี่ยวของ โดยมีคณะกรรมการ
อํานวยการทําหนาที่ใหการปรึกษา และศูนยประสานการปฏิบัติที่ ๕ ( ศปป.๕ ) เปนผูเสนอแนะ
อํานวยการและกํากับดูแลหนวยปฏิบัติในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต, ระดับปฏิบัติในพื้นที่ ใหกอง
อํานวยการรักษาความมั่นคงภายในจังหวัดชายแดนภาคใตเปนหนวยงานหลักรับผิดชอบการแกไข
ปญหาการกอเหตุรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการบริหารจัดการแกไข
ปญหาจังหวัดชายแดนภาคใต ขึ้นตรงกับกองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร และ
ใหศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใตเปนหนวยระดับปฏิบัติในพื้นที่เชนกันและขึ้นกับกอง
อํานวยการรักษาความมั่นคงภายในจังหวัดชายแดนภาคใตสวนการจัดกําลังในโครงสรางของกอง
อํานวยการรักษาความมั่นคงภายในจังหวัดชายแดนภาคใตประกอบดวย ๖ สวน ไดแก สวนการ
ขาวกรอง, สวนกองกําลัง ( พลเรือน ตํารวจ ทหาร ที่จัดจากหนวยในพื้นที่เปนหลัก ), สวนตอสูทาง
ความคิด, สวนการพัฒนา และสวนการฝกศึกษา แตละสวนควรมีกําลังพลในจํานวนที่ไมมากจนเกินไป
นอกจากนี้ เห็นควรแบงประเภทกําลัง/หนวยงาน ออกใหชัดเจนวา จริงๆ แลว ไดใชกําลัง/หนวยงาน
ใดบางในการแกไขปญหาจังหวัดชายแดนภาคใตโดยตรง และกําลัง/หนวยงานใดบาง ที่ปฏิบัติงาน
ตามกลไกปกติ และเปนหนวยสนับสนุนการแกไขปญหาจังหวัดชายแดนภาคใต เพื่อไมใหเกิดความ
เหลื่อมล้ําหรือความไมเปนธรรม โดยเฉพาะดานสิทธิของกําลังพลหรือของขาราชการของแตละ
หนวยงาน รวมทั้งควรกําหนดบทบาทและหนาที่ รวมทั้งสายการบังคับบัญชาใหชัดเจน โดยกําหนดให
กองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในจังหวัดชายแดนภาคใตเปนหนวยแกไขปญหาการกอเหตุ
รุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต รับผิดชอบงานดานความมั่นคงและงานเสริมการพัฒนา ( เปนงาน
การพัฒนาที่เสริมงานพัฒนาปกติของจังหวัด หรือเปนแผนงาน/โครงการพัฒนาเฉพาะ ), กอง
อํานวยการรักษาความมั่นคงภายในจังหวัด รับผิดชอบงานดานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
และการปองกันและแกไขปญหาภัยคุกคามรูปแบบอื่น เชน ยาเสพติด แรงงานตางดาว ผูหลบหนีเขา
เมืองโดยผิดกฎหมาย การทําลายทรัพยากรธรรมชาติ ฯลฯ และจังหวัด กระทรวง กรม รับผิดชอบ
งานการพัฒนาปกติตามแผนงาน/โครงการและงบประมาณประจําปของแตละหนวยงาน ซึ่งนาจะทํา
ใหภารกิจและการจัดหนวยมีประสิทธิภาพมากขึ้นในแกไขปญหาการกอเหตุรุนแรงในจังหวัดชายแดน
ภาคใตแบบบูรณาการ
abstract:
1
ABSTRACT
Title The Suitable Units Structures for Troubleshooting to the Cause of
Violencein the Deep South
Field Military Strategy
Name Col.Jana Preecha Course NDC Class 57
The purpose of the research is to study the suitable units structures for
troubleshooting to the cause of violence in the Deep South of Thailand that they
should consist of what forces and units to serve, how much for the budgets to spend
and what missions to commit. The research methodology is conducted by analyzing
the deploying units organization and troops resolving the issues into the Deep South,
from the past to present. How do they achieve to the objectives based on the
indicators such as the effect to the situation of violence in a good or bad direction,
normal lifestyle, feeling more secure in life and property? The content of this
document is to collect data and statistics, observe the performance of the units,
troops and the daily life of the people directly. The results show that although the
units have been adjusted continuously every year, there is no unity and integration.
One of the reasons was from a considerate way and the conductive benefits to each
other in preparing the units. So there are a lot of agencies and personnel in the
structures. The results of the analysis indicated that the numbers of troops are more
or less did not affect to the statistics of violent. But the organization of the effective
troops and the units’ performance which are the same ideology based on the
national interests are important factors in resolving the issues in Deep South.
Suggestions for deploying units and troops responsible for resolving the cause of
violence in the southern provinces are changing the 4th ISOC Forward Command to
the Internal Security Operation Command of the Deep South. There are 6 units in
the command sections : the Intelligence section , the forces sections (civilian, police,
and military from the southern border provinces), the fighting against the ideas
section, the development section and the education training section. Each section
should not have too much personnel. For the policy level or the converting policy2
into practice level should have the Act of management for troubleshooting to the
cause of violence in the southern provinces in particular in order to have unity of
command and integration between the Internal Security Operation Command, the
National Security Council and the Southern Border Provinces Administration Centre.
This should be only one agency to be the primary agency responsible for the
solutions for unity, reducing duplication of tasks, shorter chain of command, quick
decision making and management personnel and budget effectively. This could be
either the Internal Security Operation command or the National Security Council.
Designation the Internal Security Operation Command of the Deep South is the
primary agency to solve the cause of violence in the southern border provinces up
straight to the Internal Security Operation Command/the National Security Council.
The Southern Border Provinces Administrative Center will be the action or working
unit in the area. up straight to the Internal security Operation Command of the Deep
South. In addition, It should classify the troops and units to make it clear that what
forces and units actually are used for solving the solutions in the Deep South
directly. What forces/ agencies are performance of the normal mechanisms and what
agencies support the troubleshooting solutions to avoid inequality or injustice, in
particular, the rights of soldiers or civil servants. It should define the roles and
responsibilities including clearly chain of command. Designate the internal Security
Operation command of the Deep South as the unit troubleshoots to the cause of
violence in the Deep South, responsible for security and enhance the development
(a development that complements the normal development of the province or
special program / project ). The Internal security Operation command of provinces
are responsible for the King projects and the other forms of threat such as drugs,
migrant workers, fugitives, destruction of natural resources etc. Provinces, Ministries
and departments are responsible for the normal development according to the
annual programs/projects and budget of each agency. This would make missions and
units organization more effective in resolving the cause of violence in the southern
border provinces integratedly.