Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการขับเคลื่อนเกษตรผสมผสานโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ, (วปอ.9499)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรีจตุรภัทร วงศ์ศรีเผือก, (วปอ.9499)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2564
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการขับเคลื่อนเกษตรผสมผสานโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เสริมสร้างความมั่นคงของชาติ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วิจัย พลตรี จตุรภัทร วงศ์ศรีเผือก หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๔ การศึกษาเรื่อง “แนวทางการขับเคลื่อนเกษตรผสมผสานโดยใช้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ กระบวนการ ท าเกษตรผสมผสาน ที่ด าเนินการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้ประสบความส าเร็จ และ เพื่อศึกษาปัจจัยที่เป็นปัญหาอุปสรรคต่อการขับเคลื่อนเกษตรผสมผสาน เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ ตลอดจนเพื่อเสนอแนะแนวทางการขับเคลื่อนเกษตรผสมผสานโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เสริมสร้างความมั่นคงของชาติ รวมทั้งกลไกการด าเนินงานที่จะมาเสริมให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม ผลการศึกษา พบว่า 1. กระบวนการท าเกษตรผสมผสาน ที่ด าเนินการตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ให้ประสบความส าเร็จ มีปัจจัยที่ส าคัญดังนี้ 1.1 ด้านการวางแผนการผลิต ได้แก่การมีพื้นที่ถือครองของตนเอง การมีความรู้และประสบการณ์ในด้านเทคโนโลยีการผลิตพืชหลายชนิด การมีทุนเริ่มต้นและทุนหมุนเวียนพอสมควร และการเป็นผู้มีความมานะอดทน และมีแรงงานที่พอเพียง เหมาะสมกับกิจกรรมภายในพื้นที่เกษตรผสมผสาน 1.2 ด้านการบริหารจัดการ ได้แก่ การเป็นผู้มี ความสามารถในการวางแผนการใช้แหล่งน้ าที่มีอยู่และการเป็นผู้มีความรู้ความสามารถในการจัดการ เทคโนโลยีส าหรับการผลิตพืชชนิดต่าง ๆ และ 1.3 ด้านการพัฒนาองค์ความรู้ด้านการเกษตร ได้แก่ การมุ่งพัฒนาให้เกษตรกรสามารถพึ่งตนเองได้ และสามารถปรับเปลี่ยนจากการผลิตพืชเชิงเดี่ยวมาท า การเกษตรแบบผสมผสานได้2. ปัญหาและอุปสรรคต่อการขับเคลื่อนเกษตรผสมผสาน เพื่อเสริมสร้าง ความมั่นคงของชาติได้แก่ 2.1 จุดอ่อนในการขับเคลื่อนเกษตรผสมผสาน เช่น การขาดความรู้ความ เข้าใจ และขาดผู้เชี่ยวชาญในการขยายผลการท าการเกษตรผสมผสานมาสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม การไม่มีที่ดินท ากินเป็นของตนเอง ปัญหาหนี้สินและทรัพย์สินของเกษตร งบประมาณในการ ขับเคลื่อนเกษตรผสมผสานยังไม่ต่อเนื่องเท่าที่ควร และความนิยมปลูกพืชเชิงเดี่ยวของเกษตรกร ในพื้นที่ 2.2 อุปสรรคในการขับเคลื่อนเกษตรผสมผสาน ได้แก่ แรงงานภาคการเกษตรมีแนวโน้ม ลดลงและการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ปัญหาความเสื่อมโทรม ของทรัพยากร และความเหลื่อมล้ าทางรายได้ของประชากรภาคเกษตร 3. แนวทางการแนวทางการ ขับเคลื่อนเกษตรผสมผสาน โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ ดังนี้ 3.1 ระยะสั้น ได้แก่ การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในเกษตรผสมผสานแก่เกษตรกรในพื้นที่ การมีวิทยากรหรือผู้เชี่ยวชาญมาให้ความรู้ถึงประโยชน์ของเกษตรผสมผสานเป็นการเฉพาะ 3.2 ระยะกลาง ได้แก่ มีการสร้างระบบสวัสดิการแก่เกษตรกร การสนับสนุนงบประมาณในการขับเคลื่อน เกษตรผสมผสานอย่างต่อเนื่อง 3.3 ระยะยาว ได้แก่ การเสริมสร้างความภาคภูมิใจในการประกอบ อาชีพเกษตรกรรมให้แก่เกษตรกรรุ่นใหม่ การปรับกฎหมายหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาการเกษตร และการร่วมกันแก้ไขปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนข ข้อเสนอแนะจากการวิจัย คือ ระยะสั้น ได้แก่ 1. มีการขยายผลการท าเกษตรผสมผสาน โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้เห็นผลในทางปฏิบัติ2. การพัฒนาองค์ความรู้ให้ เกษตรกรจนสามารถปรับตัวสู่เกษตรกรมืออาชีพ (Smart Farmer) 3. การส่งเสริมการรวมกลุ่มของ เกษตรกรพัฒนาเครือข่ายเกษตรกร องค์กรเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร (Smart Group, Smart Enterprise) ซึ่งจะช่วยให้กับเกษตรกร สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน 4. ควรมีการพัฒนา ความรู้ด้านเทคโนโลยีชีวภาพในการท าเกษตรผสมผสานให้แก่เกษตรกร เพื่อท าให้สินค้าเกษตร มีคุณภาพ ระยะกลาง ได้แก่ 1.ควรมีการวางแผนความต้องการและการผลิตสินค้าเกษตร (Demand & Supply) ในระดับจังหวัด 2. ควรมีการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันแก่เกษตรกร ระยะยาว ได้แก่ 1. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรสร้างความมั่นคงทางอาหารและพลังงาน 2. การมุ่งให้ความรู้การเกษตร ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3. มีการบริหารจัดการแรงงานภาคเกษตรและเทคโนโลยี และ 4. ส่งเสริม การวิจัยและพัฒนาด้านการเกษตร รวมถึงน านวัตกรรมและเทคโนโลยีการเกษตร

abstract:

Abstract Title Approaches to driving integrated agriculture using the philosophy of sufficiency economy to enhance national security Field Social Psychology Name Major General Jaturapart Wongsriphuak Course NDC Class 64 The study subject "The Approach to Driving Integrated Agriculture Using Sufficiency Economy Philosophy to Enhance National Security" aims to study and analyze an integrated farming process that operates under the philosophy of sufficiency economy to be successful and to study the factors that cause problems and obstacles in driving integrated agriculture to enhance national security. Moreover, the study aims to suggest ways to drive integrated agriculture using the philosophy of sufficiency economy to enhance national security as well as operational mechanisms that will be supported to achieve concrete results. The results of the study found that 1. The integrated farming process operates according to the philosophy of sufficiency economy to be successful. There are important factors as follows: Production planning, including having its own holding area. Having knowledge and experience in the production technology of many crops. Having a reasonable start-up capital and working capital and being patient, and having sufficient labour suitable for activities within the integrated agricultural area. In addition, being knowledgeable, the ability to manage technology for different types of crop production can change from monocropping to integrated farming; 2. Problems and obstacles in driving integrated agriculture to strengthen national securit are as follows: Weaknesses in driving integrated agriculture such as lack of knowledge and understanding, lack of expertise in expanding integrated farming results into concrete practice, and lack of arable land of its own Agricultural debt and property problems. The budget for driving integrated agriculture is not continual as it should be, and the popularity of monocropping among farmers in the area. Obstacles to driving integrated agriculture include the decline in agricultural labour and an ageing society. Climate change resource degradation problem and income inequality among people in the agricultural sector. 3. Approached to driving integrated agriculture using the philosophy of sufficiency economy to enhance national security are as follows: In the short term, i.e. enhancing knowledge and understanding of integrated agriculture for farmers in the area; Having a lecturer or an expert to give knowledge about the benefits of integrated agriculture in ง a particular manner; Long-term continually supporting the budget to drive integrated agriculture, including enhancing pride in farming for new generation farmers. Adjustment of laws or regulations related to agricultural development and jointly solving the problem of the degradation of natural resources sustainably.