เรื่อง: แนวทางการใช้วิทยาศาสตร์การกีฬาเพื่อพัฒนาศักยภาพการแข่งขันของนักกีฬาทีมชาติไทย, (วปอ.9477)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายกฤษดา ธีรวรชัย, (วปอ.9477)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2564
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการใช้วิทยาศาสตร์การกีฬาเพื่อพัฒนาศักยภาพการแข่งขัน
ของนักกีฬาทีมชาติไทย
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัย นายกฤษดา ธีรวรชัย หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 64
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัญหาและอุปสรรคของการพัฒนาศักยภาพ
ของนักกีฬาทีมชาติไทยโดยใช้วิทยาศาสตร์การกีฬา วิเคราะห์การจัดการความรู้และกระบวนการ
ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาในการพัฒนาศักยภาพของนักกีฬาทีมชาติไทยเพื่อสร้างความแข็งแรงของ
กล้ามเนื้อและความว่องไวของนักกีฬา และเสนอแนวทางการใช้วิทยาศาสตร์การกีฬาเพื่อพัฒนา
ศักยภาพการแข่งขันของนักกีฬาทีมชาติไทยเพื่อสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและความว่องไว
ของนักกีฬา โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจากภาครัฐ เอกชน ผู้ฝึกสอนและนักกีฬา
ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาและอุปสรรคของการพัฒนาศักยภาพของนักกีฬาทีมชาติไทยโดยใช้
วิทยาศาสตร์การกีฬานั้นประเทศไทยยังขาดผู้เชี่ยวชาญสาขาวิทยาศาสตร์การกีฬาทุกสาขา รวมทั้ง
งบประมาณและวัสดุอุปกรณ์วิทยาศาสตร์การกีฬา ขาดองค์ความรู้ในการพัฒนาวิทยาศาสตร์การกีฬา
ควบคู่กับการวิจัยที่เชื่อมโยงทางด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาเพื่อให้เกิดความเข้าใจในการน าไปใช้
ด้านการจัดการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาจะต้องประกอบด้วยการฝึก และการเสริมสร้าง
สมรรถภาพของนักกีฬา โดยองค์ประกอบที่ส าคัญในการฝึกให้ประสบความส าเร็จนั้นประกอบไปด้วย
ความถี่ในการฝึก (Frequency) ความหนัก (Intensity) ความนาน (Time) และชนิดของกิจกรรม
(Type) ส่วนแนวทางการใช้วิทยาศาสตร์การกีฬาเพื่อพัฒนาศักยภาพการแข่งขันของนักกีฬา
ประกอบด้วย ด้านกายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) คือ การให้ความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างร่างกาย
ด้านสรีรวิทยา (Psysiology) คือการให้ความรู้เกี่ยวกับการท างานหรือการท าหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ
ด้านชีวกลศาสตร์ (Biomechanics) คือ ความรู้ด้านการท างานของกล้ามเนื้อ กระดูก เอ็น ข้อต่อ
เพื่อน าไปสู่การใช้แรงในการเคลื่อนไหวร่างกาย ด้านทักษะการฝึกซ้อมกีฬา (Skill Exercises) คือการ
ให้ความรู้ความหนักเบาของวิธีการฝึก ด้านโภชนาการทางการกีฬา (Sport Nutrition) คือ การให้
ความรู้เกี่ยวกับคุณค่าทางอาหาร โภชนาการ ด้านจิตวิทยาการกีฬา (Sport Psychology) คือ การให้
ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการคิด การควบคุมด้านทักษะการเคลื่อนไหว การฝึกปฏิบัติในการตัดสินใจใน
แต่ละสถานการณ์ และด้านเวชศาสตร์การกีฬา (Sport Medicine) คือ การให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการ
ป้องกัน การดูแลรักษาร่างกาย และการฟื้นฟูสภาพร่างกายทั้งในสภาะปกติและในระหว่างการฝึกซ้อม
abstract:
Abstract
Title Guidelines for applying Sports Science to develop the competitiveness
of Thai National Athletes
Field Science and Tecnology
Name Mr. Krisda Thiravorachai Couse NDC Class 64
This research aims to study the problems and obstacles of the
development of completitiveness for Thai national athletes under the application of
Sports Science and to analyze knowledge management and Sports science processes
to develop the potential of Thai national athletes in order to build muscle strength
and agility of athletes, and to suggest the ways of Sports science to be applied for
the development of competitiveness of Thai national athletes to build muscle
strength and agility of athletes. The data were derived from in-depth interviews
including relevant government sectors, private sectors, coaches, and athletes. The
results showed that the problems and obstacles of developing the potential of Thai
national athletes whiched applied Sports science in Thailand were from the lacking
of experts in all fields of Sports science including the budget and Sport science
equipment, knowledge in the development of Sports science that linked together
with the research in Sports science to gain understanding of its implementation.
Moreover, the Sports science knowledge management must consist of training and
enhancing the fitness of athletes. The essential factors to improve the success
consisted of Frequency, Intensity, Time, and Type. According to the application of
Sport science to improve the completitiveness of athletes, it consisted of Anatomy
which focused on human structure, Psysiology which focused on functions or
funtionning of human organs, Biomechanics focused on functioning of muscles,
bones, ligaments, joints to lead to the use of force in human movement, Skill
Exercises focused on knowledge of high intensity interval training, Sport nutrition
focused on nutrional knowledge, Sport Psychology focused on thinking system,
controlling of movement skill, making decision skill, and Sport Medicine focused on
how to prevent, take care of body and rehabilitate both in normal and training
period.