Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการเข้าถึงสินเชื่อรายย่อยแบบมีคุณภาพ และเกิดประสิทธิผลอย่างยั่งยืน, (วปอ.9474)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายกฤษณ์ จิตต์แจ้ง, (วปอ.9474)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2564
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการเขา ้ ถึงสินเชื่อรายยอ่ ยแบบมีคุณภาพและเกิดประสิทธิผลอยา่ ง ยงั่ ยนื ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผู้วิจัย นายกฤษณ์ จิตต์แจ้ง หลกัสูตรวปอ. รุ่นที่64 หน้ีสินภาคครัวเรือนเป็นหน่ึงในปัญหาส าคญั เชิงโครงสร้างของเศรษฐกิจไทย ดงัน้ัน งานวิจยัน้ีจึงถูกจดัทา ข้ึนภายใตว้ตัถุประสงค์3 ด้าน ประการแรก คือ เพื่อประเมินสาเหตุและลักษณะ ของหน้ีซ่ึงช่วยให้สามารถทา ความเขา้ใจถึงปัญหาหน้ีสินและปัญหาการเขา้ถึงบริการสินเชื่อของ ประชาชนรายย่อย โดยการศึกษาพบว่า นอกจากครัวเรือนไทยจะมีปัญหาการกระจุกตัวของสินเชื่อ เป็นหน้ีนาน มีหน้ีสินเพื่อการบริโภคที่ไม่มีหลกั ประกันเพิ่มข้ึน รวมถึงมีปัญหาในการชา ระหน้ี เพิ่มข้ึนแลว้ สัดส่วนภาระหน้ีต่อรายไดของภาคครัวเรือนไทยยัง ้ เพิ่มสูงข้ึนในช่วงที่ผ่านมา ภาพสะท้อนข้างต้นน ามาสู่วัตถุประสงค์ของการศึกษาข้อถัดมา คือ เพื่อวิเคราะห์ ปัญหาและอุปสรรคของหน้ีสินและการเขา้ถึงบริการสินเชื่อท้งักลุ่มที่เขา้ถึงบริการสินเชื่ออยู่แลว้ (Bankable) และกลุ่มที่ยังมีข้อจ ากัดในการเข้าถึงบริการสินเชื่อ (Underserved and Unserved) ซึ่ ง อาศัยข้อมูลการส ารวจภาวะหน้ีสินภาคครัวเรือนของผู้วิจัยและการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ ให้บริการสินเชื่อ โดยพบว่า ปัญหาการเขา้ถึงสินเชื่อและหน้ีสินภาคครัวเรือนมีสาเหตุมาจาก 3 ส่วน หลกั ไดแ้ก่ปัญหาในระดับมหภาค ปัญหาที่มาจากผู้ให้บริการสินเชื่อและปัญหาที่มาจากครัวเรือน จากการวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคข้างต้น น ามาสู่วัตถุประสงค์สุดท้ายของงานวิจัย ไดแ้ก่การเสนอแนะเชิงนโยบายใน 2 ส่วน โดยในส่วนของข้อเสนอแนะเชิงนโยบายส าหรับภาครัฐ และผูก้ ากับดูแลในภาคการเงินน้ัน จะเน้นไปที่การดูแลเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและรายได้ ประชากร การยกให้ปัญหาหน้ีครัวเรือนเป็นวาระแห่งชาติปรับปรุงกฎเกณฑ์และแนวทางก ากับที่ เกี่ยวข้องการจัดท าฐานข้อมูล (Big Data) หน้ีครัวเรือนของประเทศ รวมถึงเพิ่มการแข่งขนัระหว่างผู้ ให้บริการเพื่อเพิ่มการเขา้ถึงสินเชื่อ โดยท้งัหมดน้ีจะต้องด าเนินการอย่างจริงจังต่อเนื่องและสอด ประสานกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และมีการประเมินผลอย่างสม ่าเสมอ ส่วนข้อเสนอแนะ ส าหรับผูใ้ห้บริการสินเชื่อน้นั จะเนน้ ไปที่การปรับปรุงกลไกการบริหารความเสี่ยงและการต้งัราคา ในลักษณะ Risk-Based Pricing การพัฒนาบริ การออนไลน์เพิ่มการเข้าถึงสินเชื่อของกลุ่ม Underserved และ Unserved รวมถึงการออกผลิตภณั ฑ์และแนวทางแกไ้ขหน้ีให้เหมาะสมกบัลูกคา้ เฉพาะกลุ่ม เป็ นต้น โดยข้อเสนอแนะและแนวทางด าเนินการท้งัหมดน้ีก็เพื่อให้สามารถบรรเทา ปัญหาหน้ีครัวเรือนและการเขา้ถึงสินเชื่ออยา่ งมีประสิทธิภาพและยงั่ ยนือยา่ งแทจ้ริง

abstract:

Abstract Title Guidelines for Sustainable and Quality Increase in Financial Access of Retail Lending in Thailand Field Economics Name Mr. Krit Jitjang Course: NDC Class 64 Household debt is one of Thailand’s most-notable structural problems. In order to solve the problem in a sustainable manner, this research paper has thus been prepared to meet three objectives. Firstly, the paper elaborates the causes and characteristics of household debt, allowing better understanding of debt and financial access problems. In addition to the problem of household debt concentration, longer periods of indebtedness, higher proportion of clean loans among total loans and higher individual debt delinquency, the paper has found that Thai households’ debt service ratio (DSR) has become higher. The above finding leads to the second objective of the paper, featuring analysis of the problems of debt and financial access of bankable customers as well as those who are considered underserved or unserved. The paper has gathered additional information from a household survey and interviews of specialists and loan operators, before pointing out three main causes of the problems at the macro, service provider and borrower levels. For the last objective of the paper, it aims to offer policy recommendations for authorities and supervisory bodies, as well as guidelines for loan service providers, in order to mitigate household debt and financial inclusion problems in an efficient and sustainable manner. Regarding the policy recommendations, the paper suggests the needfor the government to maintain economic and income stability. Also, authorities will need to incorporate the household debt issue in the national agenda, with big data on household debt and measures to increase lending competition.Most importantly, any upcoming project implementations must bedone in earnestand work harmoniously among all involved authorities, with continuity, constant performance assessment. As for guidelines for loan service providers, they should increase efficiency of risk management and introduce risk-based pricing models. This is in addition to development of online lending services to serve the underserved and unserved segments, as well as more customized products and debt management to fit varied groups of customers.