เรื่อง: การบูรณาการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์และแรงงานต่างด้าวทางทะเลของไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลเรือตรี โฆสิต เจียมศุภกิตต์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรือง การบูรณาการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์และแรงงานต่างด้าวทางทะเลของไทย
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พลเรือตรีโฆสิต เจียมศุภกิตต์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที๕๗
การวิจัยนีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสถานการณ์การค้ามนุษย์และแรงงานต่างด้าวทาง
ทะเลเพือกําหนดแนวทางการบูรณาการการแก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะในการบริหารจัดการ
ปัญหาความมันคงในรูปแบบปัญหาการค้ามนุษย์และแรงงานต่างด้างทางทะเลทีมีประสิทธิภาพ
โดยมีขอบเขตการวิจัยจํากัดเฉพาะแรงงานประมงทางทะเล โดยเน้นการแก้ไขปัญหาหาการค้ามนุษย์
และแรงงานต่างด้าวในทะเล เนืองจากโครงสร้างพืนฐานทางเศรษฐกิจของไทยด้านการประมงมีการ
เติบโตเพิมขึนแต่ในขณะเดียวกันประสบปัญหาการขาดแคลนแรงงาน จึงต้องอาศัยการนําเข้า
แรงงานต่างด้าวจากประเทศเพือนบ้าน เกิดรูปแบบแรงงานบังคับใช้ความรุนแรงเชือมโยงกับการ
หลอกลักพาตัวเพือไปเป็ นแรงงานทาสบนเรือประมง วิธีการดําเนินการวิจัยเป็ นการศึกษาวิจัย
เชิงคุณภาพ โดยรวบรวบข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลทีได้จากแหล่งต่างๆ ผลการวิจัยพบว่า การค้า
มนุษย์และแรงงานต่างด้าวทางทะเลมีปัจจัยจากลักษณะทางภูมิรัฐศาสตร์ของประเทศไทยทีสะดวก
ต่อการใช้เป็ นเส้นทางการโยกย้ายถินฐานด้านแรงงานประมง และด้วยปัจจัยการเติบโตทาง
เศรษฐกิจสูงกว่าประเทศเพือนบ้านในกลุ่ม CLMV (Cambodia, Loas, Mynmar, Vietnam) ส่งผลให้
ประเทศไทยเป็ นประเทศจุดหมายปลายทาง(Destination Country) ประเทศทางผ่าน (Transit
Country) และประเทศต้นทาง (Country of Origin) ทังนีด้วยลักษณะโครงสร้างการค้ามนุษย์ทาง
ทะเลซึงมีแนวโน้มเป็ นการกระทําผิดซับซ้อนต่อเนืองด้านอืนๆ (Multi form of criminal activities)
และข้ามอาณาเขตทางทะเลของรัฐชายฝัง (Trans boundary) จําเป็ นต้องใช้กลไกแก้ไขปัญหา
การมีส่วนร่วมสมบูรณ์ (Comprehensive Approach) รวมทังการมีโครงสร้างการแก้ไขปัญหา
ในระดับนโยบายและระดับอํานวยการจะสนธิขีดความสามารถการบังคับใช้กฎหมายทีมี
ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะของประเทศไทยทีการบังคับใช้กฎหมายในทะเลยังเป็ นลักษณะกลไกการ
ประสานงานทีต่างหน่วยต่างดําเนินการไม่ไปในทิศทางเดียวกัน ผลงานวิจัยจึงมีข้อเสนอให้มีการ
จัดตังกลไกการบูรณาการหน่วยงานบังคับใช้กฎหมายทางทะเลของไทยในลักษณะ (Multi Agency
Task Force) ซึงปัจจุบันสามารถยกระดับให้ศูนย์ประสานการปฏิบัติในการรักษาผลประโยชน์ของ
ชาติทางทะเลมีขีดความสามารถเป็ นศูนย์อํานวยการทีจะรองรับการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์และ
แรงงานต่างด้าวทางทะเลทีเป็ นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติต่อไป
abstract:
Abstract
Title The integrated solutions of Thailand’s maritime human trafficking and foreign labors
Field Military
Name Rear Admiral Kosit Cheamsuphakit Course NDC Class 57
This research aims to study the situation of maritime human trafficking and maritime foreign
labors, to establish integrated solutions and suggestions for effectively managing security issues in the forms of
human trafficking and foreign labors. The research scope covers only the workers in fishing industry, with
emphasizing on resolving problems of human trafficking and maritime foreign labors.
The infrastructure of Thailand fishery has been growing, but at the same time it is also experiencing
a labor shortage. Hence, there are needs to import foreign workers from neighboring countries. As a result, it
occurs in forms of forced labor or linked to kidnapping to lure those workers to become slave labors on fishing
boats. This research is conducted as a qualitative study by gathering aggregated data from various sources. The
results show that the problems ofmaritime human trafficking and maritime foreign labors caused by geopolitical
factor of Thailand where suitable as the connecting route for fishing labor migration as well as a factor of higher
economic growths than neighbor countries in CLMV group (Cambodia, Laos, Myanmar, and Vietnam). These
make Thailand become the destination country, transit country, and country of origin.
With characteristics of maritime human trafficking which likely relates to other typesof maritime
violations (multiform of criminal activities), and crossed boundary of the coastal states (Transnational Crime by
nature), it requires comprehensive approach as well as structural solutions at policy level and at the operation level
tosynergiesthe capacity of all maritime agenciesto enforce the law effectively.
Especially Thailand, the maritime law enforcementagenciesis still the mechanism of coordination
among government units where each ones’ directions might not conform. The researchproposes there should be
the establishment of integratedmaritimeenforcement agencies to impose maritime law of Thailand in the way of
Multi Agency Task Force, which nowadays it can be upgraded to the Thai Maritime Enforcement Coordinating
center for thepractice of empowering to maintain and protect the national interests of Thaimaritime domainas a
center to accommodate the problems of maritime human trafficking and maritime foreign workers in concrete and
effective way.