Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ปัญหาผู้หนีภัยการสู้รบจากพม่า : ความเป็นไปได้และแนวทางการส่งกลับสู่มาตุภูมิ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี คำรณ เครือวิชฌยาจารย์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง ปญหาผูหนีภัยการสูรบจากพมา:ความเปนไปไดและแนวทางการสงกลับสูมาตุภูมิ ลักษณะวิชา การเมือง ผูวิจัย พล.ต.คํารณ เครือวิชฌยาจารย หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๗ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความเปนมา และปญหาผูหนีภัยการสูรบ รวมทั้ง การเตรียมความพรอมของฝายไทยในการสงผูหนีภัยการสูรบกลับมาตุภูมิ ตลอดจนเสนอแนะแนวทาง การสงกลับดังกลาว โดยมีขอบเขตของการวิจัยเปนการศึกษาพัฒนาการที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับผูหนีภัย การสูรบ แผนการดําเนินการของไทยในการเตรียมความพรอมผูหนีภัยการสูรบ และแนวทาง การสงกลับผูหนีภัยการสูรบ (พ.ศ.๒๕๕๘ - ๒๕๖๐) ทั้งนี้ การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีการศึกษาขอมูลทุติยภูมิจากการคนควาเอกสาร นโยบาย เอกสารวิจัย เอกสารทางวิชาการ และบทความตาง ๆ ที่เกี่ยวของ และศึกษาขอมูลปฐมภูมิดวยวิธีการสัมภาษณและสอบถาม ความคิดเห็นจากบุคคลที่เกี่ยวของ และนําขอมูลตาง ๆ ที่รวบรวมไดมาวิเคราะหหาปญหาและ อุปสรรค จากนั้นจะใชการวิเคราะหเชิงเนื้อหา (Content Analysis) ดวยการนําขอมูลที่ได จากการศกึษามาวิเคราะหแลวสรุปผลเพื่อศึกษาแนวทางการสงกลับผูหนีภัยการสูรบสูมาตุภูมิ การวิจัยครั้งนี้ทําใหทราบวา หลังจากที่เมียนมาไดรับเอกราชจากอังกฤษ รัฐบาลเมียนมา จํากัดสิทธิการปกครองตนเองของชนกลุมนอย ทําใหเกิดความไมพอใจจนไมสามารถยอมรับ การปกครองของรัฐบาลเมียนมาได จึงมีการตอตานและตั้งตนเปนอิสระ ทําใหกองทัพเมียนมาตองใช กําลังปราบปรามชนกลุมนอยที่ตั้งตนเปนอิสระอยางรุนแรงและตอเนื่อง สงผลใหมีผูหลบหนีภัย เดินทางเขามาในเขตไทยจํานวนมาก ซ่ึงทางรัฐบาลไทยไดใหความชวยเหลือผอนปรนใหอาศัยอย ู ในเขตไทยไดเปนการชั่วคราวตามหลักมนุษยธรรมและอํานวยความสะดวกในการสงกลับมาตุภูมิ เมื่อสถานการณเอื้ออํานวยตั้งแตป ๒๕๒๗ เปนตนมา อยางไรก็ตาม ปจจุบันสถานการณภายใน เมียนมามีความสงบมากขึ้นและอยูในหวงการสรางความปรองดองและพัฒนาประชาธิปไตย ซึ่งเปนสัญญานที่ดีตอการสงผูหนีภัยการสูรบกลับประเทศ ดังนั้น สวนราชการระดับนโยบาย จึงไดรวมกันจัดทําแนวทางการสงผูหนีภัยกลับประเทศ (พ.ศ.๒๕๕๘ - ๒๕๖๐) ซึ่งไดรับความเห็นชอบ จากหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ เมื่อวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๗ และไดมีการเตรียม ความพรอมสําหรับการเดินทางกลับประเทศของผูหนีภัยการสูรบอยางตอเนื่อง ข ผลจากการศึกษามีขอเสนอแนะแนวทางความเปนไปไดในการสงกลับผูหนีภัยกลับประเทศ หลายประการ อาทิ การบูรณาการการปฏิบัติงานรวมกันระหวางผูที่เกี่ยวของซึ่งมีอยูจํานวนมาก ทั้งฝายไทย เมียนมา ผูหนีภัยการสูรบ องคการระหวางประเทศ และองคกรเอกชน การสงกลับผูหนีภัย ตองสอดคลองกับหลักการและแนวทางปฏิบัติตามพันธกรณีระหวางประเทศ และการไมสรางภาระ ใหกับฝายเมียนมามากเกินไป เปนตน

abstract:

ABSTRACT Title Myanmar Refugee Affairs : Possibilities and Methods to return to homeland Field Politics Name Maj.Gen. KUMRON KEARWICHYAJANE Course NDC Class 57 This research aims to study the background and problems of refugee including the readiness of preparation in order to return the refugee to their homeland and the method of returning. The scopes of this research are to study the development of the refugee, the fighting, readiness of Thailand in handling the refugee and methods of returning the refugee home (2015 - 2017.) This research is a qualitative research with secondary data from research studies, policy documents, research papers, academic papers, related articles and study primary data through interviews and inquiries. And bring all data to analyze problems and difficulties then do the content analysis from the data on hand in order to conclude the study of methods of returning the refugee to their homeland. This research enable us to understand that Myanmar, after receiving the Independence from Britain, restricts the authorities of ethnic minorities to rule themselves which causes dissatisfaction. The administration of Myanmar government causes resistances and freedom declaration. The Myanmar military suppress the ethnic minorities which declare freedom of state causing the a lot of refugee flee to Thailand. The Thai government extends the assistance and allow the refugee to temporally relocate into Thailand according to the law of humanity and provide assistance to return them to homeland. The situation turns in favour since 1984, however, at present time the domestic situation in Myanmar is in peace and reconciliation stage. And the development in democracy is in progress which gives a good signal to the refugee to return home. The official at policy making level draws a guidance for method to send home the refugee (2015-2017.) And it is approved by Head of the National Council for Peace and Order on 6 July 2014. The preparation to return the refugee to homeland is being carried out continuously. The result of this research has a few suggestions of possibilities to return the refugee to homeland such as synergies the cooperation of the concerned parties from Thailand, Myanmar, refugee, international organizations and private organizations. ๒ The returning of the refugee must act according to principle and method of international obligation and must not create too much of a burden to Myanmar.