เรื่อง: การปฏิรูปภาคความมั่นคงทางทะเลของประเทศไทย, (วปอ.9166)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ร.ต. อะดุง พันธุ์เอี่ยม, (วปอ.9166)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การปฏิรูปภาคความมั่นคงทางทะเลของประเทศไทย
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วิจัย พลเรือตรี อะดุง พันธุ์เอี่ยม หลักสูตร วปอ. รุ่นที่๖๒
การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ ๑. เพื่อศึกษาแนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงสภาวะ
แวดล้อมสถานการณ์ภัยคุกคามทางทะเล ๒. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความส าเร็จในด้าน
ความร่วมมือขององค์กรในการรักษาความมั่นคงทางทะเลของไทย ๓. เพื่อเสนอแนวทางการปฏิรูป
ภาคความมั่นคงทางทะเล ให้สามารถตอบสนองต่อภัยคุกคามด้านต่างๆ ที่ส่งผลกระทบได้อย่างเท่าทัน
รวมทั้งการปรับปรุงองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาคความมั่นคงทางทะเล ให้มีประสิทธิภาพในการ
ตอบสนองต่อการรักษาความมั่นคงทางทะเลของไทยในอนาคต
การวิจัยในครั้งนี้จะเป็นการวิจัยแบบผสมเชิงปริมาณและคุณภาพ (Quantitative and
Qualitative Research) โดยมีวิธีด าเนินการ ได้แก่ ๑. การรวบรวมข้อมูล ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูล
ทุติยภูมิ จะรวบรวมข้อมูลจากหนังสือ เอกสาร งานวิจัย และรายงานบันทึกผลการปฏิบัติงานต่าง ๆ
และข้อมูลปฐมภูมิ จะรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามหน่วยงานต่าง ๆ ใน ศรชล.ในทุกระดับ
ทั้งระดับผู้บริหาร และระดับปฏิบัติงาน และ ๒. การวิเคราะห์ข้อมูล จะวิเคราะห์ข้อมูลจากการศึกษา
เชิงเปรียบเทียบด้วยทฤษฎีและหลักการปฏิรูปภาคความมั่นคงที่น าเสนอโดยองค์การสหประชาชาติ
และองค์กรอื่น ๆ ที่เป็นที่ยอมรับในสากลรวมถึงประสบการณ์การปฏิรูปภาคความมั่นคงของประเทศ
ต่าง ๆ
ผลการวิจัย มีดังนี้๑.ปัญหาด้านโครงสร้างองค์กรภาคความมั่นคงของประเทศไทย
(Organizing) มีปัญหาน้อยมาก ๒. ปัญหาที่ตรวจพบจากมากไปน้อย ได้แก่การวางแผน (Planning)
การน าองค์กร(Leading) และการประเมินผล (Controlling) โดยปัญหาการวางแผน ประกอบด้วย
แผนความมั่นคงทางทะเล ของ สมช. ฉบับปัจจุบันที่จะสิ้นสุดในปี พ.ศ.๒๕๖๔, รวมทั้งการวางแผน
ด้านบุคลากร ตั้งแต่การจัดหา พัฒนาความรู้ในด้านเกี่ยวกับทะเล ด้านกฎหมาย นโยบายระหว่าง
ประเทศ และการประสานงานกับหน่วยข้างเคียง, และการวางแผนในการจัดหาอุปกรณ์ เครื่องมือ
ที่ตอบสนองภารกิจ และมีการบูรณาการการใช้งานระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ, รวมทั้งต้องมีการ
วางแผนในระดับปฏิบัติระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ที่ชัดเจน ส่วนปัญหาการน าองค์กร แม้ว่ายังไม่แสดง
ข้อบกพร่องให้ตรวจสอบได้มากนัก แต่หากวิเคราะห์ด้วยหลักการบริหารแล้วพบว่า การที่ประเทศไทย
เลือกใช้รูปแบบการจัดการความมั่นคงทางทะเลโดยการใช้รูปแบบของศูนย์อ านวยการแทนการก่อตั้ง
หน่วยงานยามฝั่ง (Naval Coastguard) โดยเฉพาะ ซึ่งท าให้ภารกิจของ ทร. ยังไม่แยกชัดเจนระหว่าง
การป้องกันประเทศ และการบังคับใช้กฎหมาย ยังคงใช้ยุทโธปกรณ์ของ ทร. ที่ซ้ าซ้อน เช่น ในบาง
กรณีมีการน าเรือรบไปใช้ในการลาดตระเวนตรวจสอบการบังคับใช้กฎหมาย จึงสามารถคาดการณ์
ได้ว่าภายหลังที่การวางแผนงานเกี่ยวกับองค์บุคคล องค์วัตถุ และองค์ยุทธวิธีได้ถูกจัดท าเรียบร้อย
ทั้งในระดับนโยบาย และระดับปฏิบัติ จะเริ่มเห็นปัญหาในส่วนของการน าองค์กรเมื่อน าแผนงาน
ดังกล่าว ฯ มาใช้ปฏิบัติ ทั้งนี้ความส าเร็จทั้งหมดทั้งมวลจะขึ้นอยู่กับความสามารถในการน าองค์กรข
ของผู้น าองค์กร จึงจ าเป็นต้องใช้ผู้น าองค์กรที่ที่มีภาวะผู้น าสูง ส าหรับปัญหาการติดตามและ
การประเมินผล การติดตาม มีปัญหาในระบบตรวจการณ์ติดตามทางทะเล รวมทั้งการมีข้อมูล
ที่ครบถ้วนในทุกมิติและทันเวลา ซึ่งสามารถแก้ไขได้ด้วยการมีศูนย์เฝ้าตรวจและติดตามแห่งชาติ
(Thailand Maritime Domain Awareness Center) เพื่อเป็นศูนย์ที่รวบรวม และกระจายข้อมูล
ทางทะเลทั้งหมด ตลอด ๒๔ ชั่วโมง ส่วนการประเมินผลจากภาคประชาชน ควรสนับสนุนการจัดตั้ง
ประชาคม หรือสมาคมภาคประชาชน ที่ช่วยสนับสนุนและตรวจสอบการปฏิบัติงานของ ศรชล.
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของ ศรชล. รวมทั้งเพื่อความโปร่งใส มีธรรมาภิบาล
ข้อเสนอแนะ การศึกษาครั้งนี้จึงได้น าเสนอการปฏิรูปในส่วนต่างๆ ดังนี้๑. ระดับนโยบาย ควรจัดตั้ง
ส านักงานที่ปรึกษาด้านความมั่นคงทางทะเล ท าหน้าที่เสนอแนะด้านยุทธศาสตร์ นโยบายด้านทะเล
แก่รัฐบาล , ครม. และ นปท. รวมทั้งเสนอกฎหมายและข้อมูลความรู้แก่หน่วยปฏิบัติเพื่อให้มีการ
ด าเนินการไปในทิศทางเดียวกัน ๒. ระดับปฏิบัติ ควรจัดรูปแบบโครงสร้างภาคความมั่นคงทางทะเล
ที่มี ๓ หน้าที่หลักคือ การป้องกันประเทศ การบังคับใช้กฎหมาย และการรักษาความปลอดภัย
ในทะเล แต่ให้มีการบูรณาการหน่วยงานเข้าร่วมกัน เพื่อความเป็นเอกภาพและประสิทธิภาพในการ
ปฎิบัติงานของภาคความมั่นคงทางทะเลของประเทศไทย ซึ่งตามหลักการและผลการวิจัยแล้ว องค์กร
ความมั่นคงทางทะเลของไทย ควรอยู่ในรูปแบบของ Naval Coastguard แต่ด้วยการปรับโครงสร้าง
ล่าสุดตาม พ.ร.บ. การรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล รัฐบาลเลือกใช้วิธีการปรับเปลี่ยนจาก
ศูนย์ประสานการปฏิบัติในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล เป็นศูนย์อ านวยการรักษา
ผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ซึ่งมีแนวทางการปฏิบัติยังไม่ถึงระดับ Naval Coastguard อย่างไรก็ตาม
ผู้วิจัยเห็นว่า คงจะต้องใช้เวลาอีกนานกว่าจะสามารถปรับเปลี่ยนตามแนวทางของผลการวิจัย
ดังนั้น จึงควรปรับปรุงแก้ไขในด้านอื่น ๆ เพื่อให้การด าเนินการในรูปแบบศูนย์อ านวยการฯ
มีประสิทธิภาพ ซึ่งผลการวิจัย มีข้อเสนอดังนี้
๒.๑ ควรจัดตั้งศูนย์เฝ้าตรวจและติดตามทางทะเลแห่งชาติ (Thailand Maritime
Domain Awareness Center) เพื่อเป็นศูนย์ที่รวบรวม และกระจายข้อมูลทางทะเลทั้งหมด ตลอด
๒๔ ชั่วโมง
๒.๒ ควรจัดตั้งส านักงานให้บริการทุกประเภทที่เกี่ยวข้องกับทะเล ทั้งด้านทะเบียนด้าน
ภาษี ใบอนุญาตต่าง ๆ ค่าธรรมเนียม ฯลฯ ในรูปแบบ Maritime Government Shop Front หรือ
One Stop Service
๒.๓ ควรจัดตั้งองค์กรภาคประชาคม/สมาคมภาคประชาชนขึ้นเพื่อช่วยเหลือและ
ตรวจสอบภาครัฐ รวมถึงการเสนอแนะนโยบายแก่ภาครัฐ
ซึ่งการปฏิรูปในทุกมิติตามที่กล่าวข้างต้น ย่อมจะส่งผลต่อประสิทธิภาพและการพัฒนา
อย่างยั่งยืนของภาคความมั่นคงทางทะเลของไทยตามหลักการปฏิรูปภาคความมั่นคงที่เป็น
วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้
abstract:
Abstract
Title : The Study of Thai Maritime Security Sector Reform
Field : Strategy
Name : Rear Admiral ADOONG PAN-IAM Course NDC Class 62
The objective of this study is 1. to study about trends and developed
situations of Thai maritime environment and threats, 2. to study the main factors those
effect to the succession in cooperation among Thai maritime security sector organization,
and 3. to introduce the new solutions for Thai maritime security sector reform to respond
to those threats and increase the efficiency of theThai maritime organization in the future.
This research is conducted by mixed methods, that is, the method combining
a qualitative method and a quantitative method in order to obtain empirical confirmed
data. The qualitative method research is conducted for: literature reviews, and collecting
data and to those secondary data obtain by collecting and studying from many books,
research papers and the report from maritime operations agencies. The primary data is
collected by sending questionnaire papers direct to policy maker level and operational
level of the Thai government agencies those are under Thai Maritime Enforcement
Command Center (THAIMECC) and finally analysis and comparative those data by
using modern management theory (Planning, Organization, Leading, Controlling: POLC) and
concept in maritime securities sector reform by UN. The research results are gained
from collecting and analysis as follows :
1. The obvious direct problem caused by lack of Thai maritime securities
sector organization structure is rare.
2. Those problems found by modern management theory from high to low
level, are showed in planning, leading, and controlling section. The problem in Thai
maritime organization planning in the next future are consisted of the expiring of
Thai National Security Strategy will take place in 2021 and The THAIMECC have not
established the new one yet and there are not had plan for 1: The personal planning
for recruiting, developing personal to support the organization in the field of maritime law,
international policy maker, and cooperation among organization personal, 2: the holistic
plan of equipment acquisition to respond to the THAIMECC missions and the concept of
integrating those equipment from different government agencies, and including the
mutual understanding in action and concept to respond to each missions. ง
The problem from leading organization is difficult to obviously identify
the problem now but if using this theory to analysis it will illustrate the future
problem in leading organization that caused from not choosing Naval Coastguard
model which is the best model for managing Thai maritime securities sector instead
to use THAIMECC model. The example problem is the Royal Thai Navy (RTN) must
complete all missions from defensive country role, constabulary role, and diplomatic
role those are too many functions for one agency to be perfectly complete. Due to
the roles and duty of each government agencies under THAIMECC is not clear, then
the actions will also redundancy such as the RTN must use the high efficiency
combat frigate to patrol and wear out in constabulary mission. Therefore, after
established personal, equipment, and mutual action planning in both policy maker
level and operational level, the problem of the leading organization will be revealed
and how to overcome the problems of leading organization will depend on the
capability of organization leader. In this situation, the organization leader must carry
out high leadership.
For the problem that caused by controlling and monitor, is mainly come
from lacking of the awareness system to facilitate in surveillance and recognizance
(SR) to gain the real time situation at sea. THAIMEC can overcome this problem by
establishing Thailand Maritime Domain Awareness Center to be the center to collect
and distribute all maritime information for 24 hours. The improvement of the
monitor and assessment by civilian sector is also necessary, therefore the Thai
maritime securities sector should initiate the participating action from civilian to
check and balance and support to THAIMECC operation to increase the efficiency,
transparency, and good governance at sea of THAIMECC. Then, in this research need
to present the solutions to reform the Thai maritime security sector as follow:
1. At the policy maker level, the Thai maritime security sector should
establish Maritime Security Advise Office to give the advice to the government and
the cabinet to issue appropriate maritime strategy and policy and also advice to the
operation level in conducting their duty to be the same direction to desiring of the
policy maker.
2. At the operation level, the Thai maritime security sector should
arrange the maritime security sector organization in 3 main duties which are defense,
constabulary, and maintaining the safety at sea but the Thai maritime security sector
must integrate all activities from difference maritime agencies to gain the unity of the
operation. By the theory, the Thai maritime security sector organization should be in
the model of Naval Coastguard instead of the model of THAIMECC that was จ
approved by the government. However, the researcher’s opinion has considered it
will take more time to approach to that state. Therefore, the Thai maritime security
sector now a day should diminish those effect from unsuitable of the organization
structure by the solutions as follows.
2.1 Establish the Thailand Maritime Domain Awareness Center to
collect and distribute all information to all agencies for 24 hours.
2.2 Establish Maritime Government Shop Front or One Stop Service to
service to support all types of maritime services to facilitate civilian need for
example tax payment.
2.3 Establish civilian organization or association to support and to play
the role in balance and check to the activities of the Thai maritime security sector
and including to the organization that create and advice maritime policy to Thai
government.
All dimensional above actions will affect to sustain the efficiency and
development of the Thai maritime security sector following the concept of maritime
security sector reform by UN which is the objective of this research.