Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการแก้ไขปัญหาประชาชนบุกรุกถือครองในที่ดินของรัฐ, (วปอ.9165)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายอรรถพล เจริญชันษา, (วปอ.9165)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการแกไ้ขปัญหาประชาชนบุกรุกถือครองในที่ดินของรัฐ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิัย นายอรรถพล เจริญชันษา หลกัสูตร วปอ.รุ่นที่ ๖๒ การศึกษาวิจัยแนวทางการแก้ไขปัญหาประชาชนบุกรุกถือครองในที่ดินของรัฐ มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาสถานการณ์ปัญหาประชาชนบุกรุกถือครองในที่ดินของรัฐ และรวบรวมข้อมูลปัญหาและอุปสรรคของการแกไ้ขปัญหาประชาชนบุกรุกถือครองในที่ดินของรัฐ ที่ผ่านมา เพื่อหาแนวทางการดา เนินการที่เหมาะสมในการขบั เคลื่อนการแก้ไขปัญหาประชาชน บุกรุกถือครองในที่ดินของรัฐให้ประสบความส าเร็จอย่างเป็นรูปธรรม ผลของการศึกษาพบว่า ปัญหาการบุกรุกถือครองที่ดินของรัฐและการแกไ้ขปัญหาการไม่มีที่อยู่อาศยัและที่ดินทา กินของ ประชาชน ที่ไม่สามารถแก้ไขได้อย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาดน้ัน มีสาเหตุส าคัญ ได้แก่ ปัญหาด้าน กฎหมายและการบังคับใช้ปัญหาการด าเนินงานของหน่วยงานรัฐ ปัญหาเชิงนโยบายและ การบริหารจัดการที่ดินของรัฐและผมู้ีส่วนไดเ้สียทุกกลุ่มไม่มีส่วนร่วมในการบริหารจดัการที่ดิน แนวทางการแก้ไขปัญหาที่ดินของรัฐภายใต้คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) กา หนดมาตรการในการบริหารที่ดินของรัฐอยา่ งประสิทธิภาพ เพื่อลดความเหลื่อมล้า ในการ ถือครองที่ดิน ด้วยการจดั ที่ดินทา กินให้ประชาชนผูย้ากไร้ในลกั ษณะแปลงรวม ไม่ให้กรรมสิทธ์ิ แต่ให้เขา้ทา ประโยชน์ในที่ดินของรัฐเป็นกลุ่มหรือชุมชน เพื่อลดปัญหาการซ้ือขายที่ดินและป้องกนั การบุกรุกที่ดินของรัฐในอนาคต และมีปัจจยัความส าเร็จของการแกไ้ขปัญหา ดงัน้ี๑) สร้างความ เป็นเอกภาพในการแก้ไขปัญหาการจดัการที่ดินของหน่วยงานภาครัฐ ๒) มีนโยบายในการแกไ้ข ปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐที่ชัดเจนที่สอดคลอ้งกบั นโยบายดา้นอื่นๆของรัฐบาล ๓) มีการจัดท า ฐานข้อมูลสารสนเทศด้านที่ดินของประเทศ ๔)การกลนั่ กรองกฎหมายการบริหารจัดการที่ดินและ ทรัพยากรดินให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ๕) การปรับปรุงแผนที่แนวเขตที่ดินของรัฐ ๖) การมีส่วนร่วมของประชาชนในพ้ืนที่ ๗) กระจายการถือครองที่ดินท า ๘) การพัฒนาคุณภาพ ชีวิตที่ดีกับประชาชน และ ๙) เพิ่มความอุดมสมบูรณ์และรักษาความสมดุลของระบบนิเวศและ สิ่งแวดลอ้ ม

abstract:

Abstract Title Approaches for solving the problem of state land encroachment. Field Social -Psychology Name Athapol Charoenshunsa Course NDC Class 62 The objectives of this research are to study the situation and problem of state land encroachment by people and to collect information regarding problem and obstacles to resolve what had happened in the past, to find out the appropriate and practical approaches for successful solutions to drive the implementation regarding this issue. The results showed that the major causes of ineffective on solving the problems of state land encroachment and the problems of habitat and arable land providing for the people came from the lack of law enforcement, operations of government agencies, state land policy and management, and stakeholder involvement in land management. The approaches for solving the problem of state owned land encroachment under the National Land Policy Committee (NLPC) had set measures for the efficient state land management in order to reduce the inequality of land ownership by providing arable land for poor people in the form of collective land, the people do not have the land right, but they are able to utilize the provided land in group or community basis to reduce state land trading problems and to prevent future encroachment. The success factors in problem solving are as follow; 1) unity creating to solve the problem in land management of government agencies under the NLPC, 2) clear policy to tackle the state land encroachment that is in line with other government policies, 3) database preparing of the country’s land information, 4) moderating of land management laws to be in line with the current situation, 5) improving of state land demarcation map 6) people participation in the target area, 7) diversifying of arable land holding, 8) improving of quality of life for people, and 9) increasing of fertility and maintaining ecological and environmental balance.