เรื่อง: การพัฒนาคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหาร สังกัด กองบัญชาการกองทัพไทย, (วปอ.9146)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ต.สุรสีห์ ดรุณสาสน์, (วปอ.9146)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการพัฒนาคุณลักษณะผู้น าของผู้บริหาร สังกัดกองบัญชาการ
กองทัพไทย
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พลตรี สุรสีห์ ดรุณสาสน์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62
การวิจัยเรื่อง;“การพัฒนาคุณลักษณะผู้น าของผู้บริหาร สังกัด กองบัญชาการกองทัพไทย”
มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะผู้น าของผู้บริหาร และเสนอแนะแนวทางการพัฒนาคุณลักษณะ
ผู้น าของผู้บริหาร สังกัดกองบัญชาการกองทัพไทย ขอบเขตของการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
คือ กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เป็นผู้บริหารระดับสูงของกองบัญชาการ
กองทัพไทย ผู้วิจัยจึงใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลส าคัญ (Key;Informants) จ านวน 9 คน;
เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยท าการรวบรวมข้อมูลที่ได้มาจากการสัมภาษณ์
กลุ่มเป้าหมายได้แก่ผู้เชี่ยวชาญและผู้มีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องทั้งระดับผู้บริหารและระดับผู้ปฏิบัติ
รวมทั้งใช้ข้อมูลที่ได้มาจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องโดยการค้นคว้าจากแหล่งต่าง ๆ เช่น
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องห้องสมุดและเว็บไซต์ต่าง ๆ ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า;คุณลักษณะผู้น าของ
ผู้บริหารระดับผู้อ านวยการกอง สังกัดกองบัญชาการกองทัพไทย ด้านความรับผิดชอบของผู้น า พบว่า
ผู้น าปฏิบัติงานด้วยความตั้งใจ รองลงมา ผู้น าปฏิบัติงานตามหน้าที่จนบรรลุผลส าเร็จ;และผู้น ามี
ความรับผิดชอบในหน้าที่ ส่วนข้อที่มีค่าคะแนนน้อยที่สุดคือ ผู้น าร่วมปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ของกลุ่ม
และองค์กร ด้านบุคลิกภาพ พบว่า ผู้น าแต่งกายสุภาพเรียบร้อย รองลงมา ผู้น ามีความสุขุมรอบคอบ
และผู้น ามีความมั่นใจในตนเอง ส่วนข้อที่มีค่าคะแนนน้อยที่สุดคือ ผู้น าเป็นผู้ที่มีความกระตือรือร้น
ในการปฏิบัติงาน; ด้านมนุษยสัมพันธ์;พบว่า ผู้น ามีความยืดหยุ่นตามสถานการณ์รองลงมา ผู้น า
มีความสามารถท างานเป็นทีม และผู้น ามีความสามารถติดต่อสื่อสารที่ดีทั้งอย่างเป็นทางการและ
ไม่เป็นทางการ ส่วนข้อที่มีค่าคะแนนน้อยที่สุดคือ ผู้น ารับฟังความคิดเห็นจากผู้อื่น ด้านการตัดสินใจ
ของผู้น า;พบว่า ผู้น ามีการวิเคราะห์ปัญหาด้วยประสบการณ์ต่าง ๆ ก่อนตัดสินใจ รองลงมา ผู้น า
มีการก าหนดทางเลือกในการแก้ปัญหาอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ และผู้น ามีการใช้แนวทาง
ในการแก้ปัญหาที่สามารถปฏิบัติได้จริง ส่วนข้อที่มีค่าคะแนนน้อยที่สุดคือ ผู้น ามีการก าหนด
วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายในการท างานที่ชัดเจน ด้านคุณธรรมจริยธรรม พบว่า ผู้น ามีความคิด
ที่ดีงามทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ;รองลงมา ผู้น าประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ร่วมงานและสังคม
และผู้น ายึดมั่นในความถูกต้อง ไม่เห็นแก่พวกพ้อง ส่วนข้อที่มีค่าคะแนนน้อยที่สุดคือ ผู้น ามี
ความเสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวม คุณสมบัติผู้น าที่ดีที่ผู้น าควรมี คือ เป็นคนที่มีสติปัญญา
เฉลียวฉลาด มีความคิดกว้างไกลซึ่งมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นผู้รอบรู้ สามารถคิดวิเคราะห์
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้ดี มีความอดทน สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมได้ดี มีระดับจิตใจที่สูง เป็นที่พึ่ง
ของผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งคุณสมบัติดังกล่าว ล้วนเป็นแนวทางในการประพฤติและปฏิบัติตนในการเป็น
ผู้น าที่ดีและมีประสิทธิภาพได้ดีส าหรับปัจจัยที่มีผลกระทบท าให้การพัฒนาคุณลักษณะของผู้น าข
ของผู้บริหาร คือ การได้รับการสนับสนุนของผู้บังคับบัญชาระดับสูง ความตั้งใจและความมุ่งมั่นในการ
ท างาน ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี กลัวต่อการเปลี่ยนแปลง ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง ชอบแก้ตัว
ผัดวันประกันพรุ่ง ขนาดและโครงสร้างของหน่วย ข้อเสนอแนะ คือ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ
วางแผนปรับปรุง เปลี่ยนแปลงกระบวนการบริหารบุคคล ผู้น ามีบทบาทอย่างมากต่อความผูกพัน
ในหน่วยงาน;หากหน่วยงานมีผู้บริหารที่มีคุณลักษณะผู้น าที่ดีย่อมเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติงาน
จะส่งผลให้ก าลังพลมีความมุ่งมั่นตั้งใจในการท างาน;และชื่นชมกับผลส าเร็จของหน่วยงานไปพร้อมกัน
ซึ่งจะส่งผลให้มีความผูกพันในหน่วยงานตามไปด้วย;ดังนั้นหน่วยงานจึงควรให้ความส าคัญในการ
พัฒนาผู้บริหารให้มีคุณลักษณะผู้น าที่ดีอันจะช่วยให้หน่วยงานสามารถรักษาก าลังพลที่มีคุณค่า
ให้อยู่คู่กับหน่วยงานไปได้นาน ๆ;และช่วยในการท างานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตรงตาม
เป้าหมายและวิสัยทัศน์ขององค์กร สร้างแรงจูงใจและความผูกพันต่อองค์กรให้ผู้บริหารให้มากยิ่งขึ้น;
พัฒนาภาวะผู้น าให้แก่ผู้บริหาร ระดับผู้อ านวยการกอง สังกัดกองบัญชาการกองทัพไทย
โดยครอบคลุมคุณลักษณะทั้ง 5;ด้าน ได้แก่ ความรับผิดชอบ บุคลิกภาพของผู้น า มนุษย์สัมพันธ์
การตัดสินใจ คุณธรรมจริยธรรม และควรพิจารณาพัฒนาประเด็นที่เร่งด่วนก่อน ได้แก่ คุณธรรม และ
จริยธรรม เป็นอันดับแรก ควบคุมปัจจัยที่จะส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้น า จากการวิจัย ได้แก่
การสนับสนุนของผู้บังคับบัญชาระดับสูง ความตั้งใจและความมุ่งมั่นในการท างาน ความก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยี กลัวต่อการเปลี่ยนแปลง ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง ชอบแก้ตัว ผัดวันประกันพรุ่ง
ขนาดและโครงสร้างของหน่วย และนโยบาย ส าหรับข้อเสนอแนะในการท าวิจัยครั้งต่อไป ควรเพิ่ม
การศึกษาในส่วนของความผูกพันของผู้บริหารที่มีต่อหน่วยงานในการศึกษา และควรมีการวิจัย
คุณลักษณะผู้น าของผู้บริหารในระดับรองผู้อ านวยการส านัก รองเจ้ากรม เจ้ากรม เพื่อเป็น
แนวทางการจัดท าหลักสูตรที่จะใช้ฝึกอบรมพัฒนาผู้บริหาร และเป็นแนวทางในการคัดเลือกผู้บริหาร
ของหน่วย ควรศึกษาความคิดเห็นของผู้ด ารงต าแหน่งผู้บริหารระดับสูง เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ
ในการบริหารงาน บทบาทหน้าที่ของผู้บริหารในแต่ละหน่วยเป็นอย่างดี ประเมินคุณลักษณะผู้น า
ผู้บริหารของหน่วย และน าผลการประเมินมาเปรียบเทียบกัน เพื่อทราบผลการเปรียบเทียบเป็น
แนวทางหนึ่งส าหรับการวิจัยต่อไป
abstract:
ABSTRACT
Title The Development of Leadership Traits of the Executives of
the Royal Thai Armed Forces Headquarters
Field Military
Name Major General Surasri Darunsart Course NDC Class 62
The research of “The Development of Leadership Traits of the Executives of the
Royal Thai Armed Forces Headquarters” is aimed at 1) studying the leadership traits of the
executives of the Royal Thai Armed Forces Headquarters,2) recommending guidelines on
developing leadership traits of the executives of the Royal Thai Armed Forces Headquarters.
Qualitatively, the data were collected from9executives of the Royal Thai Armed Forces
Headquarters who were selected to be the key informants by purposive sampling.
The research reveals that theleadership traits of the division directors of the Royal
Thai Armed Forces Headquarters regarding to leadership’s responsibilities was found that they
focused on performing their work the most. The next, they focused on doing their duty until
achieving the success, and they were responsible for their duty. The least was that they
participated in group and organization activities. In the aspect of personality, it was found that
they dressed modestly and neatly the most. The next, they were thoughtful and self-confident.
The least was that they enthusiastically worked. For the point of interpersonal relations, the
findings indicated that they were flexible according to the situation the most. The next was that
they were able to be team players and able to communicate formally and informally. The least
was that they were open-minded. Regarding to decision making, leaders focused the most on
doing problem analysis considering from their experiences before making decision. Secondly,
they determined the solutions appropriately, and they selected the solutions which were
actionable. The least, they clearly set goal at work. For the point of morality and ethics, it was
found that leaders had positive thinking of themselves and others the most. The next, they set
a good example for their colleagues and others, and they stick with the right things. The least,
they sacrificed personal benefits for the public. The qualities of a good leader were being wise,
creative and intellectual. Moreover, a leader should have ability to analyze situations, be patient,
be adjustable and be reliable. Those qualities lead to an efficient leader. The factors affecting
the leadership traits development of executives were supportiveness from higher executives,
determination, technology advancement, fear of change, lacking of self-confidence,
procrastination, excuses,organization size including structure and policy.ง
This research suggests the guideline on developing a plan of human resources
management. Leaders take an important role in building employeeengagement. The executive
with good leadership traits can be arole model for the officials. That would make the officials
be determined to work successfully and then there would be employee engagement.
Therefore, developing executive leadership is essential for retaining efficient officials. The
executive leadership development for the division directors should include 5 issues which are
responsibility, leadership personality, interpersonal relations, decision making and morality and
ethics which is a priority to be developed. The factors that affect the leadership development
are the supportiveness of higher executives, working determination, technology advancement,
fear of change, lacking of self-confidence, procrastination, excuses, organization size and structure
and policy.
For further studies, study of organization engagement of executives should be
added, including the study of leadership traits of deputy directors of the Offices, deputy directors
of the Departments and directors of the Departments in order to establish an executive
development program properly and to bea guideline for executive selection. Furthermore, the
opinions of chief executives should be studied to understand management also the role of the
executives. The result of comparison of leadership assessment of the executives should be
added in further studies.