เรื่อง: การพัฒนานโยบายความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ไทย - อินเดีย, (วปอ.9145)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, น.อ. สุรฤทธิ์ กิจจาทร, (วปอ.9145)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การพัฒนานโยบายความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ไทย - อินเดีย
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นาวาอากาศเอก สุรฤทธิ์ กิจจาทร หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๒
เอกสารวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเชิงโครงสร้างนโยบายความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศ ไทย – อินเดีย เพื่อวิเคราะห์ถึงปัญหานโยบายความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ไทย - อินเดีย
เพื่อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหานโยบายความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ไทย - อินเดีย ขอบเขต
ของการวิจัยด้านเนื้อหา ศึกษาวิเคราะห์การพัฒนานโยบายความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ไทย -
อินเดีย และการด าเนินความร่วมมือระหว่างอินเดียกับกลุ่มอาเซียนและไทย ขอบเขตด้านประชากร
เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญในนโยบายประเทศอินเดียและความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศ ไทย - อินเดีย โดยวิเคราะห์และเก็บรวบรวมข้อมูล ต.ค.๖๒ - พ.ค.๖๓ เป็นการวิจัย
เชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึกบุคคล ข้อมูลทุติยภูมิเป็นการศึกษา
ค้นคว้าเอกสารจากแหล่งต่างๆ ข้อมูลปฐมภูมิสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิจ านวน ๓ คน
การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์ภาพรวมไปสู่การวิเคราะห์ประเด็นย่อยต่างๆ ซึ่งผลการวิจัย
พบว่า โครงสร้างนโยบายความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ไทย - อินเดีย เป็นลักษณะของความสัมพันธ์
แบบร่วมมือในลักษณะ Civilizational Engagement โดยไทยใช้นโยบาย Forward Engagement
นโยบาย Active Economic นโยบาย Dual - Track และนโยบาย Look to the West อินเดียใช้
นโยบายการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดและหลักปัญจศีล และนโยบายมองตะวันออก อินเดียเป็นศูนย์รวมของ
การผลิต มีการเปลี่ยนนโยบายจากนโยบายมองตะวันออกเป็นนโยบายปฏิบัติการตะวันออก อินเดีย
ใช้อ านาจละมุน (Soft Power) เน้นที่ 3C คือ วัฒนธรรม พาณิชย์และความเชื่อมโยง มีการพัฒนา
ภาคตะวันออกเฉียงเหนืออินเดียให้เป็นประตูในการเชื่อมโยงกับอาเซียน โดยไทย - อินเดียเข้าร่วม
BIMSTEC ความร่วมมือลุ่มแม่น้ าโขง - คงคา การจัดท าข้อตกลงเขตการค้าเสรีไทย - อินเดีย และ
การเข้าร่วมนโยบายอินโด - แปซิฟิก ปัญหาคืออินเดียเปลี่ยนนโยบายเป็นนโยบายปฏิบัติการ
ตะวันออก แต่ไทยยังใช้นโยบายมองตะวันตก ซึ่งความพร้อมของแต่ละประเทศในการตอบสนอง
นโยบายยังไม่เท่าเทียมกัน และการใช้นโยบายความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่แข็งกร้าวจะไม่บรรลุ
วัตถุประสงค์อีกทั้งควรสนับสนุนให้คนไทยและนักธุรกิจไทยมีมุมมองต่ออินเดียใหม่ ควรใช้อ านาจ
ละมุน Soft Power เพราะไทย - อินเดีย มีโครงสร้างของ Soft Power ใกล้เคียงกัน และให้เป็น
รูปธรรมมากขึ้น ส าหรับข้อเสนอแนะไทยควรมีการปรับปรุงนโยบายมองตะวันตกให้สอดรับและ
ตอบสนองต่อนโยบายปฏิบัติการตะวันออกของอินเดีย รัฐบาลควรมีการเจรจาระหว่างกันในเรื่องของ
ความพร้อมในการสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานสาธารณูปโภค ระบบการเงิน กฏหมาย ที่เอื้อต่อการค้า
การลงทุนร่วมกัน การด าเนินนโยบายความสัมพันธ์ระหว่างไทย – อินเดียควรตั้งอยู่บนพื้นฐาน
การไว้เนื้อเชื่อใจ การเคารพซึ่งกันและกัน และผลประโยชน์ร่วมกัน ไทยควรด าเนินนโยบาย
ต่างประเทศโดยใช้อ านาจละมุน Soft Power
abstract:
Abstract
Title : The study on the Development of Foreign Policy and
International Relations between Thailand and India, Thai India
Relation.
Field : Economics
Name Researcher : Gp. Capt. Surarit Kitchathorn Course NDC Class 62
The purposes of this research were to study the structure of Thailand –
India relationship, Foreign and International, policy, in order to investigate the
challenge including the suggestions to improve the relationship and Forien policy of
those two countries. The scope of this research comprised the current bi-lateral
relationship, and the relationship of India, Thai and ASEAN.The data of this qualitative
research was conducted during October 2019 – May 2020 by related literature
reviews as Secondary Data and the face – to - face interview with 3 experts and
eminent persons who were very experienced in working between Thailand and India
government as for the Primary data.The finding showed that the structure of Thailand
- India relationship Foreign policy was the collaborative of “Civilization Engagement”.
Thailand has used the “Forward Engagement”, “Active Economic Collaboration”,
“Dual - Track” and the “Look West” policies. While, India has used the “Non
Alignment ”, “Pancasila Philosophy” and “Look East” policies. Because India was
considered as the World productive center, India is changing from the “Look East” to
the “Act East” policy and attempted to use the “Soft Power” addressing the Culture,
Commercial and Connectivity (3C). India is developing the North East area to be a
gate to connect to ASIAN. Thailand and India are the members of “Mae Klong –
Kongkha” joint community BIMSTEC and have developed Thailand - India free trade
arrangement (FTA), as well as, joining the Indo-Pacific policy. The challenge was that
India was using “Look East” policy, while Thailand was still using “Look West” policy
with different levels of action. An aggressive policy might not able to achieve the
relationship objectives. Because both countries have similarity in social structure,
firstly, Thai people and businessmen have to understand the India culture, especially
by means of the “Soft Power”. The key suggestions are such as; looking closely to
the “Look East” policy to align with India’s “Act East” policy. Moreover, Thai
government should initiate the dialogue to communication with India and should
present a willingness including capability of Thailand to support India on
infrastructure, monetary and law which will promote the joint investment. The
important suggestion is to develop the relationship between the two countries base
on confidence, respectful and concurrent benefit repectively.