เรื่อง: การผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาในเขตพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, (วปอ.9138)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายสุเทพ แก่งสันเทียะ, (วปอ.9138)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การผลิตและพัฒนาก าลังอาชีวศึกษาในเขตพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ
ภาคตะวันออกของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย ดร.สุเทพ แก่งสันเทียะ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๒
การวิจัยเรื่อง “การผลิตและพัฒนาก าลังคนอาชีวศึกษาในเขตพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ
พิเศษภาคตะวันออก ของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา” มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาสภาพ
ปัจจุบันการผลิตและพัฒนาก าลังคนอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐานสากลรองรับการพัฒนาใน
พื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 2. ศึกษาสภาพปัญหาการผลิตและพัฒนาก าลังคนอาชีวศึกษาที่
มีคุณภาพและมาตรฐานสากลรองรับการพัฒนาในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 3. เสนอ
แนวทางการจัดท ายุทธศาสตร์ส าหรับการผลิตและพัฒนาก าลังคนภาคอุตสาหกรรมระดับภาพรวมให้
สอดคล้องกับความต้องการและทิศทางการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม ผู้วิจัยได้ก าหนดกระบวนการและ
วิธีการวิจัยโดยการใช้กระบวนการวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ร่วมกับการใช้การวิจัย
เชิงพรรณนา (Descriptive Research) และการสัมภาษณ์แบบ Focus Group ประชากรในการวิจัยได้แก่
ผู้บริหารส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จ านวน 5 คน ผู้บริหารสถานศึกษาในเขตพื้นที่
ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก จ านวน 20 คน บุคลากรทางการศึกษาอาชีวศึกษาในเขตพื้นที่
ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก จ านวน 20 คน ผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมในเขตพื้นที่
ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก จ านวน 5 คน และน าเสนอข้อมูลแบบรายงานวิจัย
เชิงพรรณนาวิเคราะห์
ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันการผลิตและพัฒนาก าลังคนอาชีวศึกษาในเขตพื้นที่
ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในปีงบประมาณ
2561 ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้จัดตั้งศูนย์ประสานงานการผลิตและพัฒนา
ก าลังคนอาชีวศึกษา ประกอบด้วย 3 ศูนย์ประสานงานใน 3 จังหวัด ได้แก่ ศูนย์ประสานงานพื้นที่
ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกจังหวัดชลบุรี ตั้งอยู่ ณ วิทยาลัยเทคนิคบางแสน ศูนย์ประสานงาน
พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกจังหวัดระยอง ตั้งอยู่ ณ วิทยาลัยเทคนิคระยอง และศูนย์
ประสานงานพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ตั้งอยู่ ณ จังหวัดฉะเชิงเทรา 2. สภาพปัญหา
การผลิตและพัฒนาก าลังคนอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐานสากลรองรับการพัฒนาในพื้นที่เขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พบว่า จากการวางแผนการด าเนินงานที่ผ่านมามีความร่วมมือกับสถาน
ประกอบการ จ านวน 810 แห่ง จัดท าและพัฒนามาตรฐานวิชาชีพที่สอดคล้องกับอุตสาหกรรม
เป้าหมายผลการด าเนินงานได้พัฒนามาตรฐานวิชาชีพ 7 มาตรฐานวิชาและมีการผลิตก าลังคน ระดับ
ปวช. จ านวน 9,734 คน ปวส. จ านวน 5,660 คน ปริญญาตรี จ านวน 3,306 คน รวม 15,427
คนและฝึกอบรมวิชาชีพระยะสั้น จ านวน 11,793 คน ซึ่งยังไม่สามารถผลิตและพัฒนาก าลังคน
อาชีวศึกษาได้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ 3. โดยมีข้อเสนอแนวทางด้านยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1
จัดการอาชีวศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ผลิตและพัฒนาก าลังคนข
ระดับอาชีวศึกษา การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ที่ 3
การพัฒนาศักยภาพก าลังคนด้านอาชีวศึกษาทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 4
การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมกันในด้านอาชีวศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสอน
การแนะน าทั้งในและนอกระบบการศึกษา เพื่อสร้างการเติบโตของคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การขับเคลื่อนธุรกิจ เศรษฐกิจ ประเทศด้วยงานวิจัยทุกระดับ เพื่อการปรับสมดุลและ
พัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
จากผลการศึกษาดังกล่าวผู้วิจัยได้ให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนาก าลังคนอาชีวศึกษาใน
เขตพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ดังนี้ 1. การก าหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาก าลังคน
อาชีวศึกษาในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกควรต้องด าเนินการวางแผนยุทธศาสตร์
ร่วมกันทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องและสามารถผลิตและก าลังคนได้สอดคล้องกับ
ความต้องการทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ 2. สถานประกอบการในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค
ตะวันออกต้องเข้ามา มีส่วนรับผิดชอบในการผลิตและพัฒนาก าลังคนอาชีวศึกษาเนื่องจากเป็นผู้ได้รับ
ผลประโยชน์โดยตรงจากก าลังคนอาชีวศึกษาที่ผลิตออกมา 3. รัฐบาลต้องให้ความส าคัญในการ
พัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกอย่างจริงจังโดยเฉพาะการสนับสนุน กระตุ้น และ
อ านวยความสะดวกเพื่อจูงใจให้สถานประกอบการได้เข้ามาร่วมรับผิดชอบในการผลิตก าลังคน
เพื่อสนองความต้องการของสถานประกอบการและเพื่อพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค
ตะวันออกอย่างจริงจัง 4. ให้มีการบูรณาการร่วมกันระหว่างสถานศึกษาภาครัฐและภาคเอกชน
สถานประกอบการและองค์กรภาคประชาชนในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก
เพื่อร่วมกันวางแผนผลิตและพัฒนาก าลังคน
abstract:
Abstract
Title The Production and Development of Vocational Manpower
in the Eastern Economic Corridor: EEC
Field Social - Psychology
Name Dr.Suthep Kaengsanthia Course NDC Class 62
The purposes of this research are: 1) to study the current conditions of
vocational manpower production and development with the quality and international
standards to support the development in the Eastern Economic Corridor (EEC) area.
2) to study the problem condition of production and development of vocational
manpower with quality and international standards to support the development EEC
area. 3) to propose guidelines to establish the strategies for formulating production
and development manpower for industrial overall and correspond to industrial
development's market needs and direction. The researcher has defined the research
process and the research method by qualitative research combined with the
descriptive study and focus group interviews. The populations in this research were:
5 administrators of the Office of the Vocational Education Commission (OVEC),
20 college administrators under OVEC in the Eastern Economic Corridor area, 20
college personnel under OVEC in the Eastern Economic Corridor area, and
5 industrial entrepreneurs in the Eastern Economic Corridor area. This research has
been presented in an analytical descriptive research report.
The results of this study are as follows: 1. The current conditions of
production and development of the vocational workforce in the EEC of OVEC in the
fiscal year 2018, the OVEC has established the Technical and Vocational Education
and Training Career. There are 3 centers namely the Eastern Economic Corridor
Coordination Center, Chonburi which is located at Bang Saen Technical College, the
Eastern Economic Corridor Coordination Center, Rayong which is located at Rayong
Technical College, and the Eastern Economic Corridor Coordination Center,
Chachoengsao, which is located at Chachoengsao Polytechnic College. 2. The study
of condition problem of vocational manpower production and development with
quality and international standards to support the development of the EEC area
found that operational planning in the past cooperated with 810 workplaces to
develop the professional standard's performance consistent with the target of
7 professional standards. There is the production of manpower in Vocational
Certificate level 9,734 students, Diploma level 5,660 students, bachelor degrees ง
3,306 students, a total of 15,427 students. In addition, there are 11,793 students in
a short training course, which are unable to produce and develop vocational
manpower according to the goals set. 3. The strategic guidelines are suggested as
follows: The first strategy, vocational education management for society, and the
nation's security. The second strategy is the manpower production and development,
research and innovation to develop a competitive capability. The third strategy is
potential human development invocational education at all ages and encouragement in
a lifelong learning society. The fourth strategy is opportunities, equal, and equality
creation in vocational education. The fifth strategy is teaching and guidance inside
and outside the education system to promote and develop life quality and
environmentally friendly. The last strategy is driving business, the country's economy,
with research at all levels to balance and develop the public management system.
4. There is no integration between public and private institutions, workplaces, and
public organizations in the EEC area for mutual planning to produce and develop
manpower. According to the result of this study, the researcher has given the
suggestions for vocational manpower development in EEC area as follows :1. Strategy
determination to develop the vocational workforce in the EEC area should be
conducted mutual strategy planning between public and private sectors to get the
correct information and produce the manpower according to the labor market's
needs, both quantity and quality side. 2. Workplaces in the EEC area have to take
part responsibilities on vocational manpower production and developments due to
workplaces will benefit directly from the production of vocational manpower.
3. The government has to give precedence on the development in the EEC,
especially the support, stimulation, and facilitation to influence the workplaces to
take part in manpower production to meet the needs of workplaces and develop
the EEC area conscientiously. 4. There is integration between public and private
institutions, workplaces, and public organizations in the EEC area for mutual planning
to produce and develop manpower.