เรื่อง: แนวทางการดาเนินการปรับปรุงระบบจัดเก็บค่าธรรมเนียมผ่านทางของทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง, (วปอ.9134)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายสิทธิชัย บุญสะอาด, (วปอ.9134)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการด าเนินการปรับปรุงระบบจัดเก็บค่าธรรมเนียมผ่านทาง
ของทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายสิทธิชัย บุญสะอาด หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62
ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (Motorway) เป็นทางหลวงมาตรฐานสูงที่สร้างขึ้น
เพื่ออ านวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ทางที่ต้องการจะเดินทางจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดได้อย่างรวดเร็ว
และมีความปลอดภัย หรือเพื่อบรรเทาปัญหาจราจรติดขัดและเพิ่มความรวดเร็วให้แก่ผู้ใช้ทาง
ที่สามารถจะจ่ายค่าธรรมเนียมผ่านทางได้ซึ่งโดยปกติทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองจะมีการควบคุม
ทางเข้าออกอย่างสมบูรณ์ ท าให้สามารถใช้ความเร็วได้อย่างต่อเนื่องและมีความปลอดภัย ในปัจจุบัน
เปิดให้บริการทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 และหมายเลข 9 โดยทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองทั้งสอง
สายทางนี้เปิดให้บริการต่อเนื่องมากว่า 20 ปี ซึ่งตลอดระยะเวลาการให้บริการปริมาณการจราจร
บนทางหลวงพิเศษมีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วมาก ซึ่งผลกระทบที่เกิดขึ้นจากปริมาณการจราจร
ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเวลาเร่งด่วนที่มีปริมาณการจราจรมากเป็นพิเศษ
ท าให้การจราจรคับคั่งเกิดความล่าช้าและเกิดการชะลอตัวบริเวณหน้าด่านเก็บเงินผ่านทาง ส่งผลให้
เกิดความไม่สะดวกแก่ผู้ใช้ทางรวมถึงการสิ้นเปลืองพลังงานและสูญเสียเวลาที่ผู้ใช้ทางต้องรอบริเวณ
หน้าด่านเก็บค่าธรรมเนียมผ่านทาง
จากรายละเอียดที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยได้เล็งเห็นถึงความส าคัญของปัญหาการจราจร
โดยหากด าเนินการปรับปรุงระบบจัดเก็บค่าธรรมเนียมผ่านทาง โดยการศึกษาแนวทางการด าเนินการ
ปรับปรุงระบบจัดเก็บค่าธรรมเนียมผ่านทางของทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง จะด าเนินการศึกษา
รูปแบบเทคโนโลยี ปัญหาอุปสรรค ข้อจ ากัด และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับระบบจัดเก็บค่าธรรมเนียม
ผ่านทางแบบอัตโนมัติ (ETC) เพื่อวิเคราะห์เทคโนโลยีและกฎหมายหรือหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องที่ใช้
บังคับในปัจจุบันซึ่งเป็นข้อจ ากัด ในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมผ่านทางแบบไม่มีด่าน พร้อมเสนอแนะ
แนวทางการด าเนินการปรับปรุงระบบจัดเก็บค่าธรรมเนียมผ่านทางที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมบน
ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ซึ่งจะท าให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับหน่วยงาน ประชาชน และประเทศ
ไทย พร้อมทั้งสนับสนุนยุทธศาสตร์และนโยบายของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศไปสู่ประเทศไทย 4.0
และสนับสนุนนโยบาย National e-Payment ของรัฐบาลได้อีกส่วนหนึ่ง
abstract:
Abstract
Title Toll Collection System Improvement Guidelines for
Intercity Motorways
Field Economics
Name Mr. Sittichai Boonsaat Course NDC Class 62
The intercity motorway is a high standard highway designed to provide
motorists’ safety and mobility as well as to alleviate traffic congestion, in which toll
charge applied. The motorway is fully controlled-access to maintain high speed drive
and uninterrupted traffic flow, which could help enhance highway safety. Thailand
has two intercity motorways, M7 and M9, which have operated for more than
20 years. Their amounts of traffic have kept rising due to tremendous increase of
travel demands, especially during rush hours. This causes congestion and delays at
toll booths, which results in a waste of time and energy, and traveler dissatisfaction.
To solve the above the problem, the researcher realizes the importance
of implementing more effective technologies to improve the toll collection system
by adopting Open Road Tolling or Multilane Free Flow system (M-Flow). First, the
study reviews and explores effective technologies, their pros and cons, limitations,
laws and regulations related to current Electronic Toll collection (ETC) system. The
analysis is to understand limitations and areas for their improvement. The study also
provides guidelines to maximize toll collection efficiency, which substantially
benefits both the responsible agencies and travelers, and consequently the country
at the ultimate. The solution also helps promote the National strategy of e-Payment
policy, that aims to transform the country into Thailand 4.0.