Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การรักษาความมั่นคงของชาติทางทะเล ภายใต้กรอบประชาคมอาเซียน กรณีศึกษาปัญหาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลเรือตรี เกรียงไกร อนันตศานต์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

- ก - บทคัดยอ เรื่อง การรักษาความมั่นคงของชาติทางทะเล ภายใตกรอบประชาคมอาเซียน : กรณีศึกษาปญหาแรงงานตางดาวและการคามนุษย ลักษณะวิชา การเมือง ผูวิจัย พลเรือตรี เกรียงไกร อนันตศานต หลักสูตร วปอ. รุน ๕๗ การวิจัยมีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาและวิเคราะหนโยบายและยุทธศาสตรความมั่นคงของชาติทาง ทะเล ศึกษาการดําเนินการของหนวยงานดานความมั่นคงของไทยและอาเซียน และศึกษาแนวทางการ ปรับปรุงและพัฒนาการรักษาความมั่นคงของชาติทางทะเลภายใตกรอบอาเซียน โดยใชรูปแบบของการวิจัย เชิงคุณภาพ ดวยการนําปญหาแรงงานตางดาวและการคามนุษยมาเปนกรณีศึกษา เพื่อใหทราบถึงประเด็น ปญหา และแนวทางการปรับปรุงและพัฒนาการรักษาความมั่นคงของชาติทางทะเลภายใตกรอบอาเซียน จาก ผลการศึกษาพบวามีประเด็นปญหา ดังนี้ ประการแรก กระบวนการแกปญหาผูหลบหนีเขาเมืองและการคา มนุษยที่เกิดขึ้น ไมไดถูกนําไปแกไขดวยประเทศตาง ๆ ที่เกี่ยวของทั้งระบบ ประการที่สอง ประเทศสมาชิก อาเซียนสวนใหญมุงเนนที่จะปองกันและรักษาผลประโยชนของชาติตนเอง โดยไมไดคํานึงถึงผลประโยชน รวมกันของอาเซียน ประการที่สาม การบริหารจัดการทางทะเลของหนวยงานรัฐขาดประสิทธิภาพ ประการที่ สี่ การขาดความรวมมือจากหนวยงานที่เกี่ยวของ ในการสกัดกั้นการลักลอบเขาเมืองทางทะเลของเจาหนาที่ ไทย และประการสุดทาย ไทยถูกกลาวหาวากระทําการละเมิดสิทธิมนุษยชน และปลอยใหขาราชการหรือ ลูกจางในภาครัฐเอาอํานาจไปใชในทางที่ผิด จากประเด็นปญหาดังกลาว ประเทศไทยควรปรับปรุงและ พัฒนาการรักษาความมั่นคงทางทะเลของไทยภายใตกรอบอาเซียน ดังนี้ ประการแรก รัฐบาลควรพัฒนา ระดับความมั่นคงของชาติทางทะเลใหไปสูระดับความมั่นคงทางทะเลรวมมือของอาเซียน ประการที่สอง จัดทํา ยุทธศาสตรความมั่นคงรวมทางทะเล และมาตรการรวมของอาเซียน เพื่อเสริมสรางความมั่นคงของมนุษยทาง ทะเล ความมั่นคงของทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล และการบังคับใชกฎหมายทางทะเล ประการที่สาม จัด ระเบียบที่ดีในพื้นที่ทางทะเล ประการที่สี่ จัดตั้งหนวยงานดานความมั่นคงทางทะเลรวมอาเซียน ประการที่ หา พัฒนาขีดความสามารถในการแลกเปลี่ยนขาวสาร การขาวกรอง และการแจงเตือนภัยลวงหนา ประการที่ หก พัฒนาความรวมมือและความเขาใจอันดีกับหนวยงานทางทะเลของประเทศเพื่อนบาน ประการที่เจ็ด บูรณาการหนวยงานดานความมั่นคงทางทะเลทุกระดับ และประการสุดทาย รัฐบาลไทยตองลงโทษเจาหนาที่ ภาครัฐที่หาประโยชนจากแรงงานทั้งไทยและตางชาติอยางเด็ดขาด ทั้งนี้มีขอเสนอแนะใหมีการศึกษา เพื่อหา กรอบแนวทางในการจัดทํายุทธศาสตรความมั่นคงรวมทางทะเลของอาเซียน แนวทางในการจัดระเบียบที่ดีใน พื้นที่ทางทะเล และแนวทางจัดตั้งหนวยงานดานความมั่นคงทางทะเลรวมอาเซียน

abstract:

Abstract Title: Maritime Security Under the ASEAN Community framework : A Case Study on Alien Labors and Human Trafficking Problems Subject: Politics Researcher: Rear Admiral Kriengkrai Anantasan, Course NDC Class 57 This qualitative research is aimed to study the policies and strategies on the maritime security of Thailand and ASEAN nations in order to find how to improve and develop the maritime security under the ASEAN Community framework. Conducts of Thailand’s maritime security agencies and those of ASEAN member states have been explored. Information related to the alien labors and human trafficking problems are gathered and then analyzed qualitatively in order to understand the causes of the problems from which possible solutions under the ASEAN Community framework are developed. The study has found that, firstly, the problems of illegal immigration and human trafficking are not being handled correctly by all concerned ASEAN member states. Secondly, each ASEAN member state is most concerned about protecting her national interests at the price of ASEAN mutual benefits. Thirdly, the maritime management by the public agencies concerned is ineffective. Fourthly, the concerned Thailand’s maritime agencies are not willing to cooperate on prevention and suppression of human trafficking at sea. And lastly, Thai officials are suspected of abuse of power for personal gains. From the analysis of the problems, solutions to Thailand and ASEAN have been proposed. Firstly, Thailand should raise its maritime security to the level of ASEAN mutual maritime security. Secondly, ASEAN should develop ASEAN mutual maritime security strategy and measures to promote human security at sea, maritime resources, and maritime law enforcement. Thirdly, a good governance of maritime areas should be established. Fourthly, an ASEAN maritime security agency should be established. Fifthly, exchange mechanism of information, intelligence, and early warnings should be established among ASEAN members. Sixthly, cooperation and understanding among ASEAN maritime agencies should be developed. Seventhly, integration at all levels of all concerned maritime agencies should be developed. And lastly, Thailand must aggressively take punitive actions against its officials who get involved in the abuse of power related to labor and trafficking of both Thai and alien workers.