เรื่อง: แนวทางการบริหารจัดการด้านการออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพของประชาชน, (วปอ.9129)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายสันติ ป่าหวาย, (วปอ.9129)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการบริหารจัดการด้านการออกก าลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพของประชาชน
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย นายสันติ ป่าหวาย หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62
การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงส ารวจ มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาเรื่องพฤติกรรม
ความต้องการ และความคาดหวังด้านการออกก าลังกายของประชาชน (2) เพื่อศึกษาปัญหาและวิเคราะห์
ปัญหาเรื่องการบริหารจัดการการออกก าลังกายที่ส่งเสริมสุขภาพของประชาชน และ (3) เพื่อจัดท าแนว
ทางการบริหารการจัดการด้านการออกก าลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพของประชาชน โดยเก็บข้อมูลกลุ่ม
ตัวอย่างด้วยวิธีสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง จากนายอ าเภอหรือปลัดอ าเภอ 4 ภูมิภาค (ภาคเหนือ/ภาคกลาง/
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ภาคใต้) รวม 76 จังหวัด (878 อ าเภอ) ด้วยแบบสอบถามออนไลน์ที่ผู้วิจัยสร้าง
ขึ้น ท าการประมวลผลข้อมูลด้วยโปรแกรมส าเร็จรูปทางสถิติ โดยใช้การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่
ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ประชาชนไทยของทุกภาค ส่วนใหญ่
เลือกกิจกรรมเดินวิ่งเพื่อสุขภาพ ในช่วงเวลา 16.00 -19.00 น. 2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการออกก าลังกายของ
ทุกภาคในด้านสนามกีฬา คือ สนามกีฬาที่ได้มาตรฐานมากที่สุด คือ สนามฟุตบอล ด้านวัสดุอุปกรณ์ออก
ก าลังกายและเล่นกีฬาที่เพียงพอ คือ กีฬาเดินวิ่งเพื่อสุขภาพ ด้านหน่วยงานที่ได้รับการสนับสนุนเพียงพอ
คือ เทศบาล ด้านบุคลากรที่มีเพียงพอ คือ กีฬาฟุตบอล 3. ระดับความพึงพอใจของประชาชนของทุกภาค
ที่มีต่อเจ้าหน้าที่พลศึกษาประจ าอ าเภอ คือ ด้านการให้บริการ ด้านการประสานงาน ด้านการจัดกิจกรรม
การออกก าลังกายและกีฬา และด้านการปฏิบัติงาน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก 4. ปัญหาและ
อุปสรรคในการด าเนินการบริหารจัดการด้านการออกก าลังกาย คือ ความต่อเนื่องและมั่นคงของ
การสนับสนุนให้มีการออกก าลังกายและเล่นกีฬาจนเป็นวิถีชีวิต จึงควรมีการสนับสนุนงบประมาณ
อย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นด้านบุคลากรผู้น าออกก าลังกาย อุปกรณ์กีฬา สนามกีฬา ถึงแม้ว่าจะไม่มากก็ตาม
แต่ควรมีความต่อเนื่องและยั่งยืน เพื่อให้ประชาชนมีเกิดการตระหนักรู้ถึงความส าคัญของการออกก าลังกาย
ต่อไปในอนาคต
abstract:
Abstract
Title Guidelines for driving the national strategy in exercise To
promote public health
Field Social - Psychology
Name Mr. Santi Pawai Couse NDC Class 62
This research is a survey method; its objectives are (1) to study the
behaviors, needs and expectations of physical exercise of the people. (2) to study
problems and analyze problems regarding exercise management that promotes
public health, and (3) to create guidelines for exercise management to promote
public health. Subject are collecting the sample data by specific sampling method
from the sheriff or the bailiff of 4 regions (northern / central / north-eastern /
southern), a total of 76 provinces (878 districts) with an online questionnaire created
by the researcher data processing by statistical software. By using descriptive statistics
analysis such as percentage, mean and standard deviation. The results of the
research showed that 1) Thai people of all regions choose “walking and running for
health” during 16.00-19.00 hrs. 2) The factors that affect the exercise of every region;
in the sports field is the stadium that has the most standard is the “football field”,
the exercise equipment sufficient is the “walking and running for health”. The
department that has sufficient support is the “municipality”. The personnel sufficient
are “football”. 3) The level of public satisfaction of every region towards the district
physical education personnel is the provision of services, coordination, organizing
exercise and sports activities and operational, the satisfaction is at a high level.
4) Problems and obstacles in exercise management are the continuity and stability
of supporting exercise and playing sports until being a way of life. Should have
constant budget support whether it is personnel, fitness leaders, sports equipment,
even if not many sports fields but should be continuous and sustainable, so that
people are aware of the importance of exercise in the future.