เรื่อง: ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางการขนส่งทางถนนเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ชยธันว์ พรหมศร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
เรื
อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยให้เป็ นศูนย์กลางการขนส่งทางถนน
เพื อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผ้วิจัย ู นายชยธันว์ พรหมศร หลักสูตร วปอ. ร่นที
ุ ./
ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการขนส่งทางถนนเป็ นยุทธศาสตร์ที สําคัญในการพัฒนา
ประเทศให้มีความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ งในอดีตที ผ่านมารูปแบบของ
การพัฒนาระบบโครงข่ายทางถนนจะเน้นการพัฒนาเส้นทางเพื อความมันคงเป็ นหลัก ดังนั 7นถนน
ที พัฒนาเส้นทางเพื อความมันคงจึงมีลักษณะชองแนวเส้นทางที ผ านเข้าชุมชนเพื อประโยชน์ของ ่
การเข้าถึงในการปกครองระหวางช ่ ่วงสงครามเย็น แต่ต่อมาเมื อประเทศมีการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ
แนวคิดของการเสริมศักยภาพการขนส่งทางถนนเพื อการขนส่งรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจ จึงควร
จะต้องสร้างถนนในแนวเส้นทางที หลีกเลี ยงการตัดผ่านเข้าชุมชนเป็ นสําคัญ แต่ด้วยนโยบายใน
อดีตขณะนั7นที ตัดสินใจบนพื7นฐานการประหยัด โดยยังคงเน้นการพัฒนาเส้นทางบนโครงข่ายเดิม
โดยวิธีการเพิ มช่องจราจรให้สามารถรองรับปริมาณการจราจรเพื อการขนส่งมากขึ7น ทําให้เกิด
ปัญหาด้านการจราจร ด้านอุบัติเหตุ และภาระด้านงบประมาณของประเทศตามมา นอกจากนี7ระบบ
การอํานวยความสะดวกในการขนส่งระหว่างประเทศที ยังไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที ควร ยังเป็ น
อุปสรรคในการขนส่งของผู้ประกอบการ ดังนั7น การปรับยุทธศาสตร์เพื อการพัฒนาโครงข่ายและ
การปรับปรุงกฎระเบียบเพื อการขนส่งจึงเป็ นเรื องจําเป็ นเร่งด่วน ที ภาครัฐควรต้องให้ความสําคัญ
โดยการพัฒนาโครงข่ายระบบทางหลวงพิเศษระหวางเมืองเพื อเพิ ่ มความสะดวกในการขนส่ง เพื อ
เชื อมต่อแหล่งเกษตรกรรม แหล่งอุตสาหกรรม และด่านชายแดน ลดปัญหาอุบัติเหตุจากการใช้ทาง
หลวงร่วมกนกั บท้องถิ ั น และลดงบประมาณภาครัฐในการซ่อมและบํารุงรักษา รวมถึงปรับปรุง
กฎระเบียบเพื อให้เอื7ออํานวยแก่การขนส่งระหวางประเทศ โดยการพัฒนาระบบจุดตรวจร ่ ่วม และ
ระบบการศุลกากรร่วมเพื อให้ประเทศไทยมีความพร้อมและมีศักยภาพในการเป็ นศูนย์กลางด้าน
การขนส่งทางถนนในภูมิภาคสําหรับการเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ก
abstract:
- 1 -
ABSTRACT
Title: Key Strategy to Promote Thailand as the Road Transport Hub for ASEAN
Economic Community
Field: Economics
Name: Chayatan Phromsorn Course NDC Class 56
Strategy for road infrastructure development is a crucial issue for Thailand in order
to be ready for serving as a road transport hub for ASEAN Economic Community. In the past,
the road network has been designed and built as provincial linkage for serving national security
during the cold war era. Therefore, all roads were built passing through the local community in
order to facilitate easy access for government officials. Later, as the economic for the country
has been promoted, the past government decided to expand capacity of existing road network
by adding a number of lanes within the existing right of ways instead of the design of new
alternative routes, in order to compromise extra traffic for logistic service. This decision caused
problems not only on traffic congestion, but also on road accident and on government budget for
road maintenance. In addition, the regulation for cross-border transportation has not been
systematized causing hindrance for logistic business. Therefore, the strategic plans for improving
infrastructure and revising regulation, are considered as immediate response for the government
by promoting inter-city motorway networks to connect agricultural areas, industrial areas, and
gateways, as well as border crossing points altogether. This network will sustain road
transportation, reduce road accidents, and relieve governmental fiscal budget for road
maintenance. Moreover, the regulations for supporting road transport should also be improved by
implementing Single Stop Inspection and Single Window Inspection System. If the proposed
strategy has been followed, the kingdom of Thailand will be ready and be highly potential to
become road transportation hub for the incoming ASEAN Economic Community.
-7-