เรื่อง: การแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองจากการประกอบอุตสาหกรรมเหมืองแร่และหินก่อสร้างในเขตควบคุมมลพิษ ตำบลหน้าพระลาน, (วปอ.9118)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายสมภพ สมิตะสิร, (วปอ.9118)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองจากการประกอบอุตสาหกรรมเหมืองแร่และหินก่อสร้าง
ในเขตควบคุมมลพิษต าบลหน้าพระลาน
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัย นายสมภพ สมิตะสิริ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62
ปัญหาการฟุ้งกระจายฝุ่นละอองในจังหวัดสระบุรี เกิดขึ้นมายาวนานอันเนื่องมาจาก
การประกอบอุตสาหกรรมเหมืองแร่ ซึ่งถือได้ว่าเป็นอุตสาหกรรมต้นน้ าที่ส าคัญของประเทศไทย
เป็นการน าทรัพยากรภายในประเทศมาใช้ประโยชน์เพื่อการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สร้างความมั่นคง
ด้านวัตถุดิบส าหรับภาคอุตสาหกรรม เป็นการสร้างงาน สร้างรายได้ให้แก่แรงงาน อีกทั้ง ยังเป็นการเพิ่มรายได้
ให้ประเทศจากการส่งออกแร่เป็นสินค้า การท าเหมืองแร่ท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่
ทั้งนี้ ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ก าหนดให้เหมืองแร่ทุกประเภท
และทุกขนาดต้องมีการจัดท ารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ให้เป็นไปตามหลักวิชาการ
และต้องได้รับการยอมรับจากชุมชนโดยรอบ และผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการผู้ช านาญการ
พิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (คชก.) นอกจากนี้ ยังต้องปฏิบัติตามมาตรการ
ป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) เงื่อนไขแนบท้ายประทานบัตร ท้ายหนังสืออนุญาตต่าง ๆ
ตลอดจนกฎหมาย ระเบียบและข้อก าหนดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอีกจ านวนมาก งานวิจัยนี้ด าเนินการ
โดยการรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ สถานการณ์ปัญหาการฟุ้งกระจายของฝุ่นละออง และข้อมูลปฐมภูมิ
ด าเนินการโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองในเขตควบคุมมลพิษ
ต าบลหน้าพระลาน เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยทั้งภายในและปัจจัยภายนอกที่เป็นสาเหตุของปัญหา
และประมวลผลการด าเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองในพื้นที่จังหวัดสระบุรีที่ผ่านมา
เพื่อการเสนอแนะมาตรการที่จ าเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวในช่วงเวลาที่เหมาะสม ซึ่งมาตรการต่าง ๆ
ที่น าเสนอในงานวิจัยฉบับนี้ เสนอให้มีการบริหารความร่วมมือทุกภาคส่วนโดยการวางแผนและบริหารจัดการ
งบประมาณที่มีอยู่จ ากัด การประกาศนโยบายแก้ไขปัญหาในช่วงวิกฤติ และการก าหนดเป้าหมายร่วมกัน
ในการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขทั้ง 3 ระยะ ได้แก่ มาตรการในภาวะปกติ มาตรการ
ในภาวะวิกฤติ(ระหว่างเดือนตุลาคม – มีนาคมของทุกปี) และมาตรการเพื่อสร้างความยั่งยืนในอนาคต
abstract:
Abstract
Title Solving dust problems from the mining industry and stone construction
in the pollution control area of Na Phra Lan Subdistrict
Field Science and Technology
Name Mr. Somphob Samitasiri Course NDC Class 62
Dust diffusion problem in Saraburi province has occurred for a long time due to
the mining industry which can be considered as an important upstream industry in Thailand.
Mining industry is the cause of the usage of domestic resources for economic development,
stability of raw material supply in an industrial sector and job and income supporting for labors.
Also, mining industry is one of the most important factors of country's revenue increasing
due to the exporting of minerals as goods. On the other hand, mining causes changes
in the area and environmental impact. So that Ministry of Natural Resources and Environment
has announced that mining of all types and sizes must take an Environmental Impact
Assessment (EIA) report in accordance with technical principles. Additionally, it must be
accepted by the surrounding community and has been reviewed by the expert committee
to consider the environmental impact assessment report. In addition, it also needs to be
followed with the environmental impact prevention and correction measures (EIA),
conditions attached to the concession certificate and the bottom of the licenses. As well
as several other laws, regulations and requirements. This research was carried out by
collecting secondary data about dust diffusion problem along with the primary data.
The report is conducted by an in-depth interview the involved sectors who participate
in problem solving in Na Phra Lan pollution control area. This is for the analysis
of both internal and external factors that can cause the problems and to process
dust prevention and remediation work in Saraburi province. Moreover, the analysis of dust
diffusion problem factor is important for the suggestion of necessary measures to resolve such
problems in a timely manner. The measures that presented in this research suggest
a cooperative management for all sectors by planning and managing limited budgets. Also,
all sectors require a collaboration in policy announcement to resolve problems during
the crisis and implementing the preventive measures to prevent and solve the problem of
dust diffusion in 3 phases, including normal conditions, crisis condition (between October -
March every year) and measures for future sustainability.