เรื่อง: การเพิ่มศักยภาพทางการผลิตในภาคเกษตร โดยอาศัยเทคโนโลยีสมัยใหม่, (วปอ.9113)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายสมบูรณ์ จิตเป็นธม, (วปอ.9113)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การเพิ่มศักยภาพทางการผลิตในภาคเกษตรโดยอาศัยเทคโนโลยีสมัยใหม่
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายสมบูรณ์ จิตเป็นธม หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62
ภาคการเกษตรเป็นเสมือนหัวใจหลักของเศรษฐกิจไทย แต่แนวโน้มการพัฒนาด้าน
การเกษตรไทยก าลังตกอยู่ในภาวะที่น่าเป็นห่วงอย่างยิ่ง เกิดการชะลอตัวลงในด้านผลิตภาพจาก
สภาพปัญหาแรงงานคนรุ่นใหม่ที่หันเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมเพื่อแสวงหารายได้และความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
รายได้เกษตรกรต่ า ปัญหาราคาสินค้าเกษตรที่ลดต่ าลง รวมถึงปริมาณผลผลิตที่ไม่แน่นอน การน า
เทคโนโลยีมาใช้ทางการเกษตรจะเป็นการเพิ่มศักยภาพทางการผลิตให้สูงขึ้น สร้างการเปลี่ยนแปลง
จากการท าเกษตรกรรมแบบดั้งเดิมไปสู่เกษตรกรรมยุคใหม่ ช่วยให้เกษตรกรเพาะปลูกได้อย่างมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น และยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ดังนั้น งานวิจัยฉบับนี้จึงได้ท าการศึกษาปัจจัย
ที่มีผลต่อเพิ่มศักยภาพทางการผลิตในภาคการเกษตร และแนวทางในการเพิ่มศักยภาพโดยอาศัย
เทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อยกระดับและขับเคลื่อนการเกษตรไทย ไปสู่ความยั่งยืนในอนาคต
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อการเพิ่มศักยภาพทางการผลิต และอุปสรรค
ส าคัญต่อการน าเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้งาน มาจากปัจจัยด้านโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ
ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ และปัจจัยด้านเทคโนโลยีและความรู้สมัยใหม่ โดยแบ่งเป็น (1)
โครงสร้างเชิงสังคมของกลุ่มเกษตรกร (2) พฤติกรรมและแนวคิดในการท าเกษตรแบบเดิม ๆ (3)
รูปแบบการน าเสนอข้อมูลและความรู้ที่มีประโยชน์เกี่ยวกับเทคโนโลยี (4) การเข้าถึงเครื่องจักรกล
สมัยใหม่และเทคโนโลยีทางการเกษตร และ (5) นโยบายภาครัฐ ซึ่งการก้าวผ่านอุปสรรคและปัญหา
ของการพัฒนาและส่งเสริมการน าเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้งานอย่างกว้างขวางของเกษตรกรนั้น ต้อง
อาศัยความเข้าใจพฤติกรรมและเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมของเกษตรกร เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ การสร้าง
แรงจูงใจ ในการปรับเปลี่ยน และการตัดสินใจของเกษตรกร ในการหันมาเลือกใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่
และการน าเทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรมไปเพิ่มความสามารถของภาคเกษตรได้ตลอดห่วงโซ่อุปทาน
การเพิ่มศักยภาพทางการผลิตของเกษตรกรในประเทศไทย อันจะน าไปสู่การยกระดับ
และขับเคลื่อนการเกษตรไทยให้เทียบเท่าระดับสากล ยังมีโอกาสในการพัฒนาผ่านการออกนโยบาย
ของภาครัฐในเชิงการบริหารจัดการดังนี้ (1) การพัฒนาเกษตรกรยุคใหม่ เพื่อส่งเสริมความรู้ให้
สามารถพึ่งพาตนเองได้และมีการกระจายความเสี่ยงของการเพาะปลูกอย่างเหมาะสม (2) การส่งเสริม
และการเข้าถึงเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และ (3) การบูรณา
การนโยบายภาครัฐ เพื่อให้เกิดการส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีสมัยใหม่และถ่ายทอดให้เกษตรกร
สามารถน ามาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
abstract:
Abstract
Title Potential development in Thailand’s Agricultural Productivity
through the Adoption of Modern Farming Technology
Field Economics
Name Mr. Somboon Chitphentom Course NDC Class 62
The agriculture in Thailand has long been considered as the country's
economic “backbone”. However, there are significant concerns on its future from the
slow growthin productivity relative to other economic sectors.The productivity growth
has slowed down markedly due to the migration of young labor forces toward
industrial sectors for better wages and livings, low incomes, declines in agricultural
product prices, and instability of agricultural production. Application of modern
technology can create a clear potential to improve the agricultural system by turning
conventional farming to smart farming to increase its productivity efficiently, and
improve the farmers’ quality of life. Thus, the objective of this study to investigate
factors affecting potential development of Thailand’s agricultural production and key
factors to enhance its potentials through the adoption of modern technology to boost
and drive the growth of Thailand's agricultural towards a sustainable future.
The study found that the key factors affecting potential development of
agricultural production and constraints on the adoption of modern farming
technologies came from infrastructure factors, demographic factors and modern
technology and knowledge factors and could be divided into 5 parts as follows: (1)
farmers’ social structure (2) typical farmers’ concepts and behaviors (3) effective
means to introduce knowledge and information technology (4) access to modern
agricultural technology and (5) government policy. Furthermore, to overcome these
issues, we need to understand famers’ behavioral insights and decision making to learn
and adopt the technology and create incentives throughout the entire supply chain.
Potential development of the agricultural productivity can upgrade and
drive Thai agricultural standards to the international level. There are opportunities to
develop and promote the adoption of modern technology through government
policies in terms of management as follows (1) development of modern farmers to
become self-reliance and diversify their risks on farming activities (2) promotion of
agricultural technology innovations to improve productivity efficiency and ( 3)
integration of government policies to promote and develop modern technologies to
farmers effectively and productively.