Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การเปลี่ยนรูปแบบการพิจารณาคดีของศาลยุติธรรม สู่การพิจารณาคดีแบบดิจิทัล ไร้กระดาษ (Paperless), (วปอ.9108)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายศุภวิทย์ ตั้งตรงจิตต์, (วปอ.9108)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การเปลี่ยนรูปแบบการพิจารณาคดีของศาลยุติธรรมสู่การพิจารณาคดีแบบดิจิทัล ไร้กระดาษ (Paperless) ลักษณะวิชา การเมือง ผู้วิจัย นายศุภวิทย์ ตั้งตรงจิตต์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62 การพิจารณาคดีในศาลยุติธรรมมีขั้นตอนการด าเนินการหลายขั้นตอนมาก ตั้งแต่คู่ความ ที่เป็นโจทก์ยื่นฟ้องจ าเลยเป็นคดีที่ศาลชั้นต้น ศาลจะส่งค าฟ้องให้แก่จ าเลย หากจ าเลยต่อสู้คดี จ าเลย จะต้องยื่นค าให้การต่อสู้ที่ศาล จากนั้นศาลชั้นต้นจะนัดพิจารณาคดี โจทก์มีสิทธิที่จะน าเสนอ พยานหลักฐานต่อศาลโดยการสืบพยานสนับสนุนข้อกล่าวอ้างของฝ่ายตน ฝ่ายจ าเลยสามารถซักค้าน พยานฝ่ายโจทก์ได้ จ าเลยเองสามารถน าเสนอพยานหลักฐานสนับสนุนข้อต่อสู้ของตนเองต่อศาลได้ เมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการน าเสนอพยานหลักฐานแล้ว ศาลชั้นต้นจะพิพากษาตัดสินคดีให้คู่ความฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่งชนะ คู่ความที่ไม่พอใจในค าตัดสินของศาลชั้นต้น มีสิทธิที่จะยื่นอุทธรณ์คัดค้านค าพิพากษา ศาลชั้นต้นได้ที่ศาลชั้นอุทธรณ์ เมื่อศาลชั้นอุทธรณ์พิจารณาคดีแล้วมีค าพิพากษาอย่างไร คู่ความฝ่ายที่ ไม่พอใจค าตัดสินของศาลชั้นอุทธรณ์ย่อมมีสิทธิที่จะยื่นฎีกาคัดค้านค าพิพากษาของศาลชั้นอุทธรณ์ต่อ ศาลฎีกาได้ กระบวนการพิจารณาคดีทั้งหมดที่เกิดขึ้นนี้ต้องบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรในกระดาษ กระดาษที่บันทึกเหล่านี้รวมกันเป็นส านวนคดี ส านวนคดีที่เกิดขึ้นก่อให้เกิดปัญหาตามมาหลายเรื่อง ทั้งเรื่องความสิ้นเปลืองในการใช้กระดาษ การจัดเก็บส านวนที่เป็นกระดาษ การสืบค้นหาข้อมูลทางคดี ของบุคคลต่าง ๆ การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) เป็นต้น อีกทั้งในภาวะสังคมปัจจุบันที่มี การด าเนินการตามรูปแบบการด าเนินชีวิตใหม่ (New Normal) และการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social distancing) ท าให้เกิดกระแสการเปลี่ยนแปลงในสังคม จากการท างานที่ท างานเป็นท างานที่ บ้าน จากการท างานบนกระดาษกลายเป็นการท างานแบบดิจิทัล online การเปลี่ยนรูปแบบการ พิจารณาคดีที่ใช้กกระดาษไปเป็นแบบดิจิทัลไร้กระดาษ จึงเป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ส าคัญและ น่าศึกษาเป็นยิ่งนัก การศึกษาวิจัยในหัวข้อนี้จึงมุ่งเน้นไปในเรื่องการด าเนินการเพื่อเปลี่ยนแปลง รูปแบบการพิจารณาคดีไปเป็นแบบดิจิทัลไร้กระดาษ (Paperless) จะมีปัญหาอุปสรรคในการ เปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร และหากต้องมีการด าเนินการเพื่อปรับเปลี่ยนแปลงระบบแล้ว ควรมี ขั้นตอนการด าเนินการเพื่อการเปลี่ยนแปลงอย่างไร การศึกษาในงานวิจัยมุ่งเน้นไปที่ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ศาลยุติธรรม แผนปฏิบัติงานของศาลยุติธรรม ตัวบทกฎหมาย ศึกษาการน าระบบ การพิจารณาคดีแบบดิจิทัลไร้กระดาษในศาลแพ่งและศาลอุทธรณ์คดีช านัญพิเศษ รวมถึงการ สัมภาษณ์เชิงลึกผู้ปฏิบัติงานในศาลทั้งสอง แห่งนี้ด้วย หลังจากรวบรวมข้อมูลที่ท าการศึกษาได้แล้ว ผู้ด าเนินการวิจัยจะวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมมาได้ทั้งหมดข้อดี ข้อเสีย อุปสรรค และข้อเสนอแนะใน การด าเนินการ การวิเคราะห์ทั้งหมดจะน าไปสู่ข้อสรุป และข้อเสนอแนะแนวทางการปรับเปลี่ยนการ พิจารณาคดีของศาลยุติธรรมไปสู่การพิจารณาคดีแบบดิจิทัลไร้กระดาษ (Paperless) ซี่งข้อเสนอแนะ แนวทางการด าเนินการเหล่านี้ ยังสามารถน าไปใช้เป็นแนวทางในการด าเนินการเพื่อปรับเปลี่ยนการ ด าเนินการในเรื่องอื่น ๆ ขององค์กรใดองค์กรหนึ่งด้วยก็ได้ข

abstract:

Abstract Title Changing the Trial Procedure of the Courts of Justice from using paper to digital paperless Field Politics Name Mr.Suppvit Tungtrongjit Course NDC Class 62 Trial procedure in the court of justice consists of many steps of proceeding. When the plaintiff wants to file a lawsuit against the defendant, he needs to submit his claim to the court then the court shall send his claim to the defendant. If the defendant would like to defend his case, he shall also submit his defense to the court. After that the court will set the date to trial the case. The plaintiff can proceed his case by introducing his evidence such as eyewitness, documents etc. to the court, the defendant has his right to cross-examine against the plaintiff’s evidences. Then also the defendant himself shall proceed his case by introducing the evidences to the court. Finally, the court will render the decision to the parties thru the judgement. At this point the parties who do not agree with the decision have the right to appeal their case to the court of appeal. When the court of appeal render the judgment to the parties, the parties who do not agree with the decision also have the right to appeal their case to the supreme court Every trial procedure need to be recorded in the written documents. All these documents compile to a case file. All the case files should be stored in the court, the case files create lots of problems to the judicial management system such as wasted papers, the store-room for the case files, the case-data management, big data analysis ,etc. As the present day the “New Normal” and “Social Distancing” become the way of living in our society, the trends of changing work at the office to work from home, work by document to work online are the “New Normal”. Changing the trial procedure of the court from using paper to digital paperless procedure is the significant issue to be considered nowadays. The study of the way to complete the implementation of the digital paperless procedure is most likely to be useful for the Court of Justice itself and the others organization. In this paper the study will focus on Thailand’s 20 years-National Strategy, The Court of Justice’s Strategy 2017-2021, Actions Plans Court of Justice 2017-2021, law and regulation related. The study will also focus on the implementation of the digital paperless procedure of The Civil Court and The Court of Appeal for Specialized Cases include the interview in depth of the personnel working in these two courts. After finding the pro and con, the obstacles, the opinions and comments from the interviewees, the study will conclude ง the recommendation of how to complete the implementation of the new way of working digitally on the digital paperless procedure of the court of justice. These recommendations can be adapted to the changing way of work of the others organizations also.