Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การจัดสรรงบประมาณด้านการส่งเสริมวัฒนธรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ, (วปอ.9101)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาวศรินทิพย์ ธนวิจิตรพันธ์, (วปอ.9101)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การจัดสรรงบประมาณด้านการส่งเสริมวัฒนธรรม เพื่อเพิ่มมูลค่าทาง เศรษฐกิจ ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผู้วิจัย นางสาวศรินทิพย์ ธนวิจิตรพันธ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62 เอกสารวิจัยฉบับนี้จัดท าขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการส่งเสริม วัฒนธรรม เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ในเรื่องกระบวนการ ขั้นตอน กรอบการพิจารณา การจัดสรร งบประมาณประจ าปีวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการบริหารจัดการงบประมาณรายจ่ายประจ าปีด้านการ ส่งเสริมวัฒนธรรม ศึกษาแนวทางแก้ปัญหาเกี่ยวกับการพิจารณาจัดสรรงบประมาณ การบริหาร จัดการงบประมาณรายจ่ายประจ าปีด้านการส่งเสริมวัฒนธรรม เพื่อให้ผลการด าเนินงานสัมฤทธิ์ผล เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจจากทุนทางวัฒนธรรม โดยมีการบูรณาการกับการด าเนินงานด้านการ ท่องเที่ยวของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนข้อเสนอแนะเพื่อการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสม เพื่อให้การจัดสรรงบประมาณเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ การใช้จ่ายงบประมาณเกิดประโยชน์สูงสุด และต่อยอดในการสร้างรายได้เพื่อให้เกิดการกระจายรายได้อย่างสมดุลและน าไปสู่ความมั่นคง ของประเทศอย่างยั่งยืน จากการวิจัยปรากฏว่าครบถ้วนตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยทั้งสามประการ กล่าวคือ การจัดสรรงบประมาณด้านการส่งเสริมวัฒนธรรมมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กระทรวงวัฒนธรรม และกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ซึ่งแต่ละหน่วยงานจะได้รับการจัดสรรงบประมาณตามภารกิจ อ านาจหน้าที่ตามกฎหมาย และมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ แผนแม่บทวัฒนธรรมแห่งชาติ และยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ในแต่ละปี มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเป็นต้นทุนทางวัฒนธรรมที่สามารถน ามาต่อยอด เพื่อสร้าง มูลค่าเชิงเศรษฐกิจให้กับประเทศไทยได้โดยกระทรวงวัฒนธรรมเป็นกระทรวงที่มีต้นทุนทางวัฒนธรรม ทั้งที่จับต้องได้และจับต้องไม่ได้เป็นจ านวนมาก โดยจะต้องให้ความส าคัญในการดูแล รักษา อนุรักษ์ ฟื้นฟู สืบสาน สืบทอดให้แก่ลูกหลานต่อไป รวมทั้ง การส่งเสริมสนับสนุนเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยน าศิลปวัฒนธรรมเหล่านั้นมาต่อยอดเพื่อสร้างรายได้ให้แก่ชุมชนท้องถิ่นส่วนกระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬาจะเป็นหน่วยงานในการส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาอุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยว การกีฬา การศึกษา ด้านกีฬา นันทนาการ รวมทั้งส่งเสริมการท่องเที่ยว และอุตสาหกรรม ท่องเที่ยว ตลอดจนการประกอบอาชีพของคนไทยในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และเผยแพร่ประเทศ ไทยในด้านความงามของธรรมชาติ โบราณสถาน โบราณวัตถุ ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม การกีฬา และวัฒนธรรมเทคโนโลยี ตลอดจนกิจกรรมอื่น ๆ อันเป็นการชักจูงให้มีการเดินทางท่องเที่ยว การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจ าปีส าหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านวัฒนธรรม (กรมส่งเสริม วัฒนธรรม) พบว่ามีเพียงประมาณ ๑๐% ของงบประมาณทั้งกระทรวงวัฒนธรรม และไม่ถึง ๑% ของงบประมาณทั้งหมดของแผนงานบูรณาการสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวและบริการ และ เมื่อเทียบสัดส่วนกับด้านการท่องเที่ยว (การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย) จะมีความแตกต่างกันข ประมาณ ๙ เท่า ซึ่งจะเห็นว่า การจัดสรรงบประมาณยังไม่สะท้อนให้เห็นภาพความส าคัญของ หน่วยงานที่มีภารกิจหลักในการส่งเสริมด้านวัฒนธรรม โดยกระทรวงวัฒนธรรมยังคงให้ความส าคัญ กับงานด้านการอนุรักษ์ ฟื้นฟู รักษามากกว่าการส่งเสริมวัฒนธรรมมาต่อยอดเพื่อสร้างรายได้ให้กับ ประเทศ ดังนั้น ทั้งสองกระทรวงควรมีการบูรณาการการท างานร่วมกัน ตั้งแต่การก าหนดเป้าหมาย แนวทางการพัฒนาในพื้นที่ต่าง ๆไปสู่การปฏิบัติ โดยการน าทุนทางวัฒนธรรมที่มีอยู่แต่ละท้องถิ่น ที่มีคุณค่า มาเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้ทั้งในและต่างประเทศอันเป็นเอกลักษณ์และ อัตลักษณ์ความเป็นไทยที่ดีงามสร้างความเข้มแข็งในชุมชน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ที่ก าหนดไว้ในแต่ละปีงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมุ่งสู่ผลสัมฤทธิ์ในการ สนับสนุนและส่งเสริมการสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวไม่ต่ ากว่า ๒.๕, ๒.๗๕ และ ๓ ล้านล้านบาท ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒ ตามล าดับต่อไป

abstract:

Abstract Title : Budget Allocation for Cultural Promotionto Increase Economic Value Field : Economics Name : Miss Sarintip Tanavichitpun Course NDC Class 62 The objectivesof the study wereto examine cultural promotion to increase economic value with regard to process, procedure, framework, annual budget allocation, problem and solution analysis of annual budget expenditure management for cultural promotion and annual budget expenditure management for cultural promotion, in order to achieve and increase economic value from cultural capital by integrating withtourism operations of the relevant organizations, as well as recommendation on appropriate and efficient budget allocation in an effort to maximize budget allocation and generate the income in an equitable manner which contributes to national security and sustainable development. The findings indicated that the results were in line with the three objectives of the study as follows: the relevant organizations to budget allocation for cultural promotion are the Ministry of Culture and the Ministry of Tourism and Sports, each of which has been allocated the budget according to mission and authority and in accordance with the National Strategy (2018-2037), the twelfth National Economic and Social Development Plan, the Cultural Master Plan and the Strategy for annual budget allocation. Since both tangible and intangible cultural heritage is the cultural capital which could be further developed to boost Thailand’s economy, the Ministry of Culture, the owner of such cultural heritage, shall focus on care, conservation, restoration and passing on such cultural heritage to the next generation, in addition to support of public relations, which can be enhanced to increase the income of the local community. As for tourism industry, sports and education, the Ministry of Tourism and Sports shall promote and develop sports, recreational and tourism industry as well as advertise Thailand’s natural features, ancient sites, antiques, history, art and culture, sports and innovation culture, which contribute to travelling.With regard to annual budget expenditure allocation for related organizations to culture (Department of Cultural Promotion), it was found that 10 percent of the total budget of Ministry of culture and not more than 1 percent of the total budget of the Integrated Program could generate the income from tourism industry, and comparing to proportion of such budget (Tourism Authority of Thailand), it is nine times different, which can be ง considered that the budget allocation does not show the importance of organizations of which the primary mission is to promote culture given the fact that the Ministry of Culture continues to focus on conservation and restoration rather than cultural promotion to generate the income. Therefore, the two ministries should collaborate in goal setting, development approach and implementation by means of publicizing cultural capital in each local area. This will create domestic and international awareness, strengthen local community and accomplish the goals and objectives stipulated in annual budget in an efficient and effective manner, as well as support and enhance the income from tourism not less than 2.5, 2.75 and 3 trillion baht in the fiscal year 2017 - 2019 respectively.