Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การศึกษาแนวทางในการยกระดับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองและสถาบันการเงินชุมชนขึ้นเป็นธนาคารประชาชน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย กูรดิสถ์ จันทร์ศรีชวาลา
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

-ก￾บทคัดย่อ เรื่อง การศึกษาแนวทางในการยกระดบักองทุนหมู่บา ้ นและชุมชนเมืองและ สถาบนัการเงินชุมชนข้ึนเป็ นธนาคารประชาชน ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิยั นายกูรดิสถ์ จันทร์ศรีชวาลา หลักสูตรวปอ. รุ่นที่ 57 งานวิจยัเรื่องน้ีมีวัตถุประสงค์ 4 ประการคือ หนึ่งเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความส าเร็จ ของกองทุนฯ และสถาบันการเงินชุมชน สอง เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการด าเนินงานของ กองทุนฯ สาม เพื่อศึกษาแนวทางที่ใช้ในการแก้ปัญหาการด าเนินงานของกองทุนฯ และสถาบัน การเงินชุมชน รวมถึงการยกระดับสถาบันการเงินชุมชนไปสู่การเป็ นธนาคารประชาชน สี่ เพื่อ เสนอแนะแนวทางแก้ปัญหาให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยเป็ นการศึกษาเชิงคุณภาพ ด้วยการ สัมภาษณ์ตัวแทนของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านฯใน 3 จังหวัด ได้แก่ กรุ งเทพมหานคร นนทบุรี และพระนครศรีอยุธยาที่ได้รับการจัดอันดับโดยส านักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ในกลุ่ม A ถึง D รวมท้งัสิ้น 10 กองทุน โดยสมั ภาษณ์คณะกรรมการท้งัสิ้น 50 คน จากการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลให้กองทุนประสบความส าเร็จ คือคณะกรรมการ ท างานอย่างโปร่งใส ท้ังในดา้นการรับเงินจากสมาชิกและการน าเงินกู้ส่งคืน ความสามัคคีและ ความสัมพันธ์อันดีของคณะกรรมการและสมาชิก การประเมินผู้กู้อย่างตรงไปตรงมา การส่งเสริม ให้รู้จักการเก็บออม มีการสื่อสารที่ดีต่อกันตลอดเวลา ช่วยสร้างความเข้าใจ ช่วยลดความขัดแย้ง และสมาชิกทุกคนเคารพกฎและข้อบังคับเป็ นอย่างดีส่วนอุปสรรคในการด าเนินงาน คือ มีบุคลากร ไม่เพียงพอ ท้งัในดา้นจา นวนบุคลากรและความรู้ การผิดนัดชา ระหน้ีการขาดความเข้าใจใน ขอบเขตการท างานของคณะกรรมการและขาดความเชื่อถือที่มีต่อคณะกรรมการ ส่วนแนวคิดการยกระดับข้ึนเป็ นธนาคารประชาชน คณะกรรมการมีความพอใจกับ ขนาดของกองทุนฯและยังไม่ตอ้งการขยายใหม้ ากกว่าน้ีเนื่องจากส่วนใหญ่ยังไม่มีความพร้อม ขาด บุคลากร ขาดความรู้ในการบริหารจัดการระบบธนาคาร และไม่มีความรู้ในการใช้เทคโนโลยีโดย อยากให้หน่วยงานรัฐช่วยให้ความรู้ในเรื่องดังกล่าวและเป็ นพี่เล้ียงในการดา เนินการช่วงแรกจน บุคลากรในชุมชนเกิดความช านาญก่อน ซึ่งจะต้องมีสถานที่ที่เหมาะสมกว่าในปัจจุบัน และจะต้องมี หลักประกันว่า เมื่อยกระดับแล้ว ชุมชนจะยังสามารถบริหารจัดการกองทุนได้อย่างเป็ นอิสระ ซึ่ง เป็ นแนวทางหลักในการด าเนินการธนาคารประชาชน คือ ให้คณะกรรมการดูแลให้ธนาคาร ประชาชนเป็ นที่พึ่งของคนในชุมชนได้ โดยที่สมาชิกไม่ต้องไปพึ่งพาแหล่งเงินกู้จากนอกชุมชน

abstract:

ABSTRACT Title A Study on guidelines to promote People's Bank through the integration of Village Funds. Field Social -Psychology Name Mr. Gurdist Chansrichawla Course NDC. Class 57 The objectives of this study are 1) to study the success factors of the Village Funds and Community Financial Institutions; 2) to study problems and obstacles face by these Village Funds; 3) to study how these Village Funds attempted to overcome these problems and obstacles as well as the way to promote People’s Bank; and 4) to offer recommendations to relevant government agencies. This study is qualitative in nature. Ten Village Funds (some of which were also Community Financial Institution) had been selected from Bangkok, Nonthaburi and Phra Nakhon Si Ayutthaya. These Village Funds ranged from A to D according to the National Village and Urban Community Fund Office’s classification. Total of fifty Village Fund committees’ representatives were interviewed. It was found that success of Village Funds depend on four factors: 1) competency and commitments of the Village Fund’s committees; 2) transparency the Village Fund’s committees; ability to accurately assess borrowers’ credibility as well as proper way to handle borrowers who do not make payment on time; 3) the level of understanding that Village Funds’ members had towards the objectives and scope of the Village Funds; and 4) continuous communication between committee members and members of the Village Funds. While there are several of problems and obstacles faced by these Village Funds, the most common ones across the A-rated to D-rated Village Funds were lack of staff and lack of managerial as well as financial knowledge to handle to operation of the Village Funds. On the promotion of People’s Bank, majority of participants indicated that such attempt should be made on gradual basis. These Funds should also act as mentor to other near-by Village Funds to help prepare for such integration. Participants, however, were concerned with the issues of manpower and lack of knowledge to handle such endeavor. They also expressed the need to invest in facilities and equipment to ensure that they have proper infrastructure. In addition, they also indicated that they must be assured about their ability to maintain their individual Village Funds identity as well as discretion to manage their Funds without undue external interference.