Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการนาหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง”มาปรับใช้ในภาคอุตสาหกรรมและสอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติตามหลักมาตรฐานสากลเพื่อให้รอดพ้นจากวิกฤตเศรษฐกิจ, (วปอ.9098)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายวีระกิตต์ รันทกิจธนวัชร์, (วปอ.9098)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการน าหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” มาปรับใช้ใน ภาคอุตสาหกรรมและสอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติตาม หลักมาตรฐานสากล เพื่อให้รอดพ้นจากวิกฤตเศรษฐกิจ ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผู้วิจัย นายวีระกิตติ์ รันทกิจธนวัชร์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62 จากวิกฤตเศรษฐกิจในเอเชีย เมื่อปี พ.ศ. 2540 หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า "วิกฤต ต้มย ากุ้ง”นั้น เป็นวิกฤตที่เริ่มเกิดขึ้นในประเทศไทย และส่งผลกระทบถึงอีกหลายประเทศในทวีป เอเชีย โดยเริ่มขึ้นตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2540 และก่อให้เกิดความกลัวว่า จะเกิดการล่มสลาย ทางเศรษฐกิจลุกลามต่อเนื่องไปทั่วโลก เนื่องจากความล้มเหลวทางระบบการเงิน ส่วนหนึ่งเกิดจาก การตัดสินใจของรัฐบาลไทยในการลอยตัวค่าเงินบาท ตัดการอิงเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐเป็นหลัก มา เป็นระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวภายใต้การจัดการ (managed float exchange rate system) ท าให้ค่าเงินบาทลดลงอย่างมาก งานวิจัยนี้ จึงจัดท าขึ้นเพื่อศึกษาและวิเคราะห์ เรื่อง แนวทางการน าหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” มาปรับใช้ในภาคอุตสาหกรรม และสอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติตามหลัก มาตรฐานสากล เพื่อให้รอดพ้นจากวิกฤตเศรษฐกิจ โดยการน าแนวพระราชด าริ“เศรษฐกิจพอเพียง” มา ประยุกต์ใช้เพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ และการศึกษาระหว่างแนวทางปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง กับแนวทางปฏิบัติตามหลักการมาตรฐานสากลเรื่องความยืดหยุ่นขององค์กร การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ วิเคราะห์ข้อมูล ทั้งจากปฐมภูมิและ ทุติยภูมิเพื่อเป็นแนวทางการด าเนินการที่เทียบเคียงได้ระหว่างแนวทางปฏิบัติตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง กับแนวทางปฏิบัติตามหลักการมาตรฐานสากลเรื่องความยืดหยุ่นขององค์กร ผลการสัมภาษณ์ผู้บริหาร เรื่องความยืดหยุ่นขององค์กร ได้แก่ 1.บริษัท ปตท. จ ากัด (มหาชน) 2.บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จ ากัด (มหาชน) 3.บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จ ากัด (มหาชน) 4. บริษัทไทยน ามันส าปะหลัง (จ ากัด) 5.บริษัท แดรี่โฮม จ ากัด 6.บริษัท เบทาโกร จ ากัด 7.บริษัท น้ าตาล มิตรผล จ ากัด 8.บริษัท วิศวกรรมเคมี จ ากัด 9.บริษัท บ้านเซรามิคสุขภัณฑ์ จ ากัด 10.บริษัท ทวียนต์ มาร์เก็ตติ้ง จ ากัด พบว่า ควรผลักดันหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจากมาตรฐานสมัครใจ เป็น มาตรฐานบังคับ เพื่อให้ทุกอุตสาหกรรมน าไปปฏิบัติ ซึ่งจะช่วยลดผลกระทบในยามเกิดวิกฤตและสร้าง ภูมิคุ้มกัน ให้กลุ่มอุตสาหกรรมทุกประเภท ทุกขนาด รวมถึงทุกองค์กร สามารถน าผลการวิจัยไป ประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจที่ก าลังเผชิญจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค โควิด 19ได้ตามความเหมาะสม

abstract:

Abstract Title Guideline for the Application of "Sufficiency Economy" Philosophy for the Industrial Sector and for Compliance with the Requirements of International Standards Field Economics Name Mr. Verakit Rantakittanawat Course NDC Class 62 The economic crisis in Asia in 1997, commonly known as the "Tom Yam Kung Crisis" is a crisis that occurred primarily in Thailand and affected many other countries in Asia. This crisis began in July 1997 and caused fears of economic collapse spreading throughout the world. The failure of the financial system, which was partly due to Thai government's decision to float Thai baht using a managed float exchange rate system, resulted in a significant decrease of Thai baht value. Thus, this research was aimed to study and analyze the approach to apply "Sufficiency Economy" Philosophy (SEP) for the industrial sector and for compliance with the requirements of international standards as the guideline to recover from potential economic crisis. The principles of "Sufficiency Economy" Philosophy according to His Majesty King Bhumibol Adulyadej, and the requirements of international standards regarding organizational resilience were reviewed for the solutions of economic problems. This qualitative research was conducted by analyzing data both from the primary and secondary resources to discover a comparable course of action between the SEP principles and the requirements for organizational resilience. The results of interviews with CEOs from 10 companies, namely (1) PTT Pcl. (2) PTT Global Chemical Pcl. (3) The Siam Cement Pcl. (4) Thai Nam Tapioca Co.,Ltd. (5) Dairy Home Co.,Ltd. (6) Betagro Co.,Ltd. (7) Mitr Phol Sugar Corporation.,Ltd. (8) Thai Chemical & Engineering Co.,Ltd (9) Ban Ceramic Sanitaryware Co.,Ltd. and (10) Thaweeyont Marketing Co., Ltd., revealed that the voluntary standard of the SEP principles should become mandatory for the practical implementation. It was suggested that this integrated guideline could reduce the impacts of any crisis and build up immunity for all industries of all types and sizes. The research results could also be applied to any organizations facing financial problems caused by the COVID-19 pandemic.