Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางในการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังที่มีพฤติการณ์ ที่ต้องควบคุมดูแลเป็นพิเศษ, (วปอ.9097)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายวีระกิตติ์ หาญปริพรรณ์, (วปอ.9097)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางในการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังที่มีพฤติการณ์ที่ต้องควบคุมดูแลเป็นพิเศษ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วิจัย นายวีระกิตติ์ หาญปริพรรณ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62 การศึกษาแนวทางในการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังที่มีพฤติการณ์ที่ต้องควบคุมดูแลเป็นพิเศษ เป็นการทบทวนแนวทางการปฏิบัติต้องผู้ต้องขังที่มีพฤติการณ์ที่ต้องควบคุมดูแลเป็นพิเศษของ กรมราชทัณฑ์ เพื่อที่จะพัฒนาแนวทางดังกล่าวให้ดียิ่งขึ้น โดยเริ่มจากการตั้งค าถามว่าแนวทางการ ปฏิบัติต่อผู้ต้องขังเหล่านี้ของกรมราชทัณฑ์ซึ่งเป็นไปอย่างเข้มงวด จะสามารถน าไปสู่การลดอัตราการ กระท าผิดซ้ าได้จริงหรือไม่ ภายหลังจากศึกษางานวิจัยของต่างประเทศและเปรียบเทียบแนวทางการ ปฏิบัติของกลุ่มประเทศยุโรปแล้ว ผู้วิจัยพบว่าแนวทางในการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังแบบเข้มงวดนั้น ไม่สามารถลดอัตราการกระท าผิดซ้ าได้ดีเท่าแนวทางการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง ซึ่งเน้นการพัฒนา พฤตินิสัย และหากพิจารณาตามทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Utility Theory) ของ Jeremy Bentham แล้วการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังที่เข้มงวดเกินไป และไม่สามารถลดอัตราการกระท าผิดซ้ าได้ดีเท่าที่ควรนั้น เป็นการลงทัณฑ์ที่ไม่สามารถสร้างก าไร (Unprofitable) หรือการลงทัณฑ์ที่ไม่จ าเป็น (Needless) ตามแนวคิดของ Jeremy Bentham เช่นนี้แล้วการเปลี่ยนไปใช้วิธีการลงทัณฑ์ที่มุ่งเน้นการพัฒนา พฤตินิสัย จึงอาจจะท าให้รัฐและสังคมได้ประโยชน์มากกว่า ทั้งนี้ผู้เขียนได้เสนอให้มีการแก้ไขระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการคุมขังและปฏิบัติต่อ ผู้ต้องขังในแดนความมั่นคงสูงสุด และเรือนจ าความมั่นคงสูงสุด พ.ศ.2561 ให้มีเนื้อหาด้านการพัฒนา พฤตินิสัยควบคู่ไปกับการควบคุม ซึ่งจะช่วยลดอัตราการกระท าผิดซ้ าได้ในระยะยาว ค าส าคัญ : ผู้ต้องขังที่มีพฤติการณ์ที่ต้องควบคุมดูแลเป็นพิเศษ,การปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง,ความมั่นคงสูง, การลงทัณฑ์

abstract:

Abstract Title: Guidelines for treating inmates that require special supervision Field Social - Psychology Name Mr. Weerakit Hanpariphan Course NDC Class 62 The study of guidelines for treating inmates that require special supervision is a study to review the Department of corrections’ guidelines in order to develop its. The study beginning with the question that strictly treating inmates can lead to a reduction of recidivism rate or not. After reviewing many types of research from foreign countries and comparing them with the practices of European countries, this study founded that, treating inmates so strictly cannot reduce the rate of recidivism, On the other hand, treating the inmates which emphasize rehabilitation can reduce recidivism significantly. In this circumstance, considering Jeremy Bentham's utility theory, strictly treating inmates is an unprofitable and unnecessary punishment. Hence, changing to a punishment method that focuses on the development of behavior, therefore, makes it more beneficial to the state and society. In this regard, the author proposes to amend the Department of Corrections regulations on detention and treat inmates in the highest security section and the highest security prison 2018, to have the content of behavioral development along with strictly treating which will reduce the rate of recidivism in the long term. Keyword : Inmates that require special supervision, Treating inmates, High security, Punishment