เรื่อง: ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันตำรวจโท กุลธน ประจวบเหมาะ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง ยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมการทองเที่ยวของประเทศไทย
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผูวิจัย พันตํารวจโท กุลธน ประจวบเหมาะ หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๗
อุตสาหกรรมการทองเที่ยวมีสวนสําคัญในการขับเคลื่อนทิศทางและกําหนดการขยายตัว
ทางเศรษฐกิจของประเทศไทยมาอยางตอเนื่อง แตการพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวก็ได-สร-าง
ผลกระทบให-เกิดขึ้นอยางรู-เทาไมถึงการณ ทําให-มีความจําเป4นที่จะต-องมีการยกระดับคุณภาพของแหลง
ทองเที่ยวใหม โดยอาศัยการทํางานรวมกันทั้งจากภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ผู-วิจัยจึง
ต-องการศึกษาวิเคราะหกระบวนการ รูปแบบ และลักษณะของนโยบายและยุทธศาสตรการพัฒนาการ
ทองเที่ยวของประเทศไทย โดยมีแผนพัฒนาการทองเที่ยวแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ เป4นแกนหลัก
ของการศึกษา เพื่อศึกษาสถานการณและพัฒนาการของการทองเที่ยวของประเทศไทย ศึกษาและ
วิเคราะหป<ญหาและผลกระทบทางด-านอุปทานการทองเที่ยวของประเทศไทย และศึกษาแนวทางการ
ดําเนินกิจกรรม และแนวทางในการจัดการการพัฒนาและสงเสริมแหลงทองเที่ยวของประเทศไทย เพื่อ
กําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมการทองเที่ยวของประเทศไทยอยางยั่งยืน
ผลการวิจัยจากการวิเคราะหเอกสาร (Documentary Analysis) และการเก็บข-อมูลจาก
การสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) ได-ข-อสรุปวา ประเทศไทยมีแนวโน-มการเติบโตของจํานวน
นักทองเที่ยวอยางอยูในอัตราที่สูงอยางสม่ําเสมอ ถึงแม-จะมีเหตุการณร-ายแรงตางๆ เกิดขึ้น และประเทศ
ไทยได-รับการคาดการณวาจะยังคงสถานะเป4นจุดแหงการเดินทางทองเที่ยว (Tourist Destination) อยู
ตอไปในอนาคต ในสถานะของการเป4นแหลงทองเที่ยวทางด-านวัฒนธรรมหรือประวัติศาสตร การ
ทองเที่ยวเชิงชุมชน ตลอดจนเป4นศูนยกลางการเดินทางทองเที่ยวเชื่อมโยงภายในภูมิภาคอาเซียน แต
อุตสาหกรรมการทองเที่ยวของไทยจะต-องปรับตัวโดยใช-กลยุทธการสร-างความแตกตาง (Differentiation
Strategy) และการพัฒนาแหลงทองเที่ยวควรคํานึงถึงความสามารถในการรองรับนักทองเที่ยว (Carrying
Capacity) ของแหลงทองเที่ยว ตลอดจนประโยชนที่ผู-ที่อยูอาศัยในพื้นที่จะได-รับจากทรัพยากรธรรมชาติ
กอนและหลังการพัฒนา ทั้งนี้ ผู-ประกอบการในอุตสาหกรรมทองเที่ยวจะต-องรับบทบาทที่สําคัญ โดย
ปรับเพิ่มทักษะทางด-านภาษา มาตรฐานสมรรถนะวิชาชีพ เพิ่มพูนความรู-เกี่ยวกับสถานที่ทองเที่ยว มี
ความซื่อสัตยในการดําเนินธุรกิจ รับผิดชอบตอป<ญหาด-านสิ่งแวดล-อมในพื้นที่ และใช-เทคโนโลยี
สารสนเทศให-มากขึ้น ในขณะที่ภาครัฐควรให-ความชวยเหลือในด-านการปรับปรุงภาระภาษีให-เป4นธรรม ใหความชวยเหลือและชวยพัฒนาทักษะใหมให-กับผู-ประกอบการ SME ตลอดจนพัฒนาระบบขนสงมวลชน
รองรับการทองเที่ยว
abstract:
ABSTRACT
Title Thailand Travel and Tourism Development Strategy
Field Economics
Name Pol.Lt.Col. Kulthon Prajuabmoh Course NDC Class 57
Travel and tourism are critical to the Thai economy as it helps generating
economics growth of the country. Nonetheless, the development and promotion
strategies have unintentionally caused negative affects to tourism resources. Hence,
there is a need for quality improvement for tourism destinations which needs cooperations among government units, private sectors as well as citizen engagement.
This research is aimed to study and analyze process of national strategy
development for travel and tourism industry. The National Tourism Development
Plan B.E. 2555 – 2559 will be the core of the study. Events and occurrences that
cause major impact to travel and tourism industry will be examined in order to gain
an understanding of travel and tourism supplies. Moreover, marketing activities,
development initiatives that have been implemented for travel and tourism industry
will also be investigated. As a result, the development strategy for sustainable travel
and tourism industry for Thailand is expected.
Results of the study from documentary analysis and in-depth interview
have concluded that Thailand has experienced a high growth rate of number of
visitors for long time. Furthermore, Thailand is still expected to be one of the most
popular tourist destinations. Visitors perceive that Thailand is a best place for
cultural vacations, historical trips and community touring, as well as center for
travelling among ASEAN countries. However, Thai travel and tourism industry must
use tactics to differentiate its industry from competition. Development of tourism
resources should apply tourism carrying capacity approach. Entrepreneurs should
improve language skills, adopt professional competency standards, doing honest
business with concerns of environment and obtain benefits from information
technology. Government is expected to help alleviate unfair tax code, building new
skills to SME operators and constructing infrastructure for mass transportation.