เรื่อง: แนวทางการแก้ปัญหาการทาเกษตรแปลงใหญ่ (กรณีนาแปลงใหญ่), (วปอ.9085)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, ดร.วิชญายุทธ บุญชิต, (วปอ.9085)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการแก้ปัญหาการท าเกษตรแปลงใหญ่ (กรณีนาแปลงใหญ่)
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายวิชญายุทธ บุญชิต หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62
การวิจัยเรื่อง แนวทางการแก้ปัญหาการท าเกษตรแปลงใหญ่ (กรณีนาแปลงใหญ่)
มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการท านาแปลงใหญ่ โดยเฉพาะขีดความสามารถใน
ด้านการเพิ่มผลผลิต การลดต้นทุนการผลิต และการเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร ศึกษาปัญหาทางด้าน
ตลาดที่อาจจะเป็นอุปสรรคท าให้การท านาแปลงใหญ่ ไม่สามารถเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรที่เข้าร่วม
โครงการอย่างเป็นรูปธรรม และเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาเพื่อให้การท านาแปลงใหญ่สามารถ
สร้างผลประโยชน์ให้แก่เกษตรกรชาวนาผู้เข้าร่วมโครงการ และท าให้การท านาแปลงใหญ่สามารถ
ตอบสนองต่อเป้าหมายการพัฒนาของประเทศในด้านต่าง ๆ อย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น โดยใช้ข้อมูล
จากตัวอย่างการท านาข้าวหอมมะลิแปลงใหญ่ของบริษัทเอกชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ผลการวิจัยพบว่า ในด้านการผลิต การท านาแปลงใหญ่ในกรณีศึกษาสามารถลดต้นทุน
การผลิต เพิ่มผลผลิตต่อไร่ และสามารถน าไปสู่การเพิ่มขึ้นของรายได้ของเกษตรกรอย่างชัดเจนเมื่อ
เทียบกับการท านาแปลงทั่วไป อย่างไรก็ตาม ภายใต้ขนาดการถือครองที่ดินของเกษตรกรในปัจจุบัน
ซึ่งอยู่ที่เฉลี่ยครอบครัวละ 10 - 20 ไร่ และภายใต้เงื่อนไขต้นทุนการผลิตและราคาข้าวที่เกษตรกรขาย
ได้ในช่วงปี 2559 - 2562 พบว่า รายได้สุทธิจากการท านาแปลงใหญ่แต่เพียงอย่างเดียวยังมีแนวโน้มที่
จะไม่เพียงพอต่อการด ารงชีพของเกษตรกรชาวนา และในด้านการตลาด ตลาดค้าข้าวไทยซึ่งมีความ
โน้มเอียงไปในทางตลาดผู้ขายน้อยรายท าให้กลุ่มเกษตรแปลงใหญ่ยังขาดอ านาจต่อรองทางการตลาด
และเมื่อรวมกับปัจจัยทางด้านการผลิต ท าให้รายได้สุทธิของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเกษตรแปลง
ใหญ่ในกรณีศึกษา และรายได้สุทธิของเกษตรกรชาวนาทั่วไปอยู่ในระดับต่ า
ภายใต้ข้อเท็จจริงในด้านการผลิตและด้านตลาดดังกล่าว รายงานการวิจัยฉบับนี้ จึงเสนอ
ให้ปรับเปลี่ยนรูปแบบการด าเนินการของการท านาแปลงใหญ่จากการผลิตและขายข้าวเปลือกภายใต้
กลไกตลาดปกติที่มีความสลับซับซ้อนตามที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน เป็นรูปแบบการผลิต จ้างสีแปรรูป
บรรจุข้าวสารถุง และจ าหน่ายผ่านแพลตฟอร์มที่เหมาะสมไปยังผู้บริโภคโดยตรง ซึ่งจะท าให้การท า
เกษตรแปลงใหญ่สามารถเพิ่มรายได้สุทธิให้กับเกษตรกรชาวนาที่เข้าร่วมโครงการได้อย่างเป็นรูปธรรม
มากขึ้น โดยแนวทางการขับเคลื่อนส าคัญ ๆ ของการจ าหน่ายผลผลิตของกลุ่มเกษตรกรนาแปลงใหญ่
ผ่านแพลตฟอร์มไปยังผู้บริโภค ประกอบด้วย การจัดหาแพลตฟอร์มที่เหมาะสม การก าหนดเงื่อนไข
แรงจูงใจให้ผู้บริโภคหันมาซื้อสินค้าผลผลิตจากนาแปลงใหญ่ที่จ าหน่ายบนแพลตฟอร์มในระยะแรก
และการแบ่งสรรรายได้เพื่อใช้ส าหรับการพัฒนากลุ่มเกษตรแปลงใหญ่ในอนาคต ทั้งนี้ ในระยะแรก
ควรด าเนินการในขอบเขตจ ากัดและพิจารณาเลือกใช้แพลตฟอร์มที่เหมาะสม เพื่อป้องกันผลกระทบ
ด้านลบที่อาจเกิดขึ้นกับการส่งออกข้าวและผลกระทบต่อธุรกิจค้าส่งค้าปลีกข้าวที่เป็นผู้ประกอบการ
รายย่อย รวมทั้งป้องกันผลกระทบที่อาจจะเกิดจากการโอนผลประโยชน์ทางธุรกิจของผู้ค้าส่งค้าปลีก
ที่เป็นผู้ประกอบการชาวไทยไปยังผู้ประกอบการธุรกิจแพลตฟอร์มที่ด าเนินการโดยชาวต่างชาติ
abstract:
Abstract
Title Approach to Resolve Problems of Doing Large Scale Farming
(the Case of Large Scale Farming)
Field Economics
Name Wichayayuth Boonchit Course NDC Class 62
Research study on Approach to Resolve Problems of Doing Large Scale
Farming (the Case of Large Scale Farming) has an objective to study the benefits of
large scale rice farming, especially competitiveness enhancement in increasing product,
reducing production cost, and increasing farmer income, the issues of market structure
in which large scale rice farming may be incapable to increase farmer income who
participate in the program, and the approaches and solutions to resolve problems of
doing large scale farming so as to enhance productivity in agriculture sector to reach
the country development goals. This study employed the data of large-scale jasmine
rice farming by private companies in the Northeast region as the basis of analysis.
This study found that, for the product side, large scale rice farming is able to
reduce production cost, increase product per rai, and lead to increase farmer income
compared with general farming. However, under the condition of land holding by farmers
nowadays about 10 - 12 rai per household and under the condition of production cost and
the rice price that farmers sold in 2016 - 2019, this can be found that net income of farmers
from doing only large scale rice farming tends to be insufficient. In addition, for the market side,
the rice value chain which is complicated and the Thai rice market is a skew towards the
oligopoly market makes large scale farmers tend to lack of power to negotiate in the market.
According to the fact of the production and market sides mentioned earlier, this
study aims to improve the process of production and selling paddy from doing large scale rice
farming under the complicated market mechanism changed to the process of production,
milling, containing, and distributing in an appropriate e-Commerce platform to customers
directly. This study found that farmer income who participates in the large scale farming
project tends to be increased. Therefore, apart from helping large scale rice farmers earn
enough income for living, this process can help to meet development goals of the country by
the key drivers including seeking for an appropriate e-Commerce platform, defining incentives
for customers to buy products from large scale rice farming in the platform for the first phase,
and allocating income for developing large scale farming in the future. Even so, in the first
phase, it should be proceeded under a limit area and consider an appropriate e-Commerce
platform in order to prevent any negative impact that might occur with the rice export, the rice
retail business especially in small entrepreneurs, and the impact of transferring the interest of
retail-wholesale business from Thai entrepreneurs to platform business running by foreigners.