เรื่อง: การบริหารราชการส่วนท้องถิ่นตามแนวคำพิพากษาศาลปกครอง
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันตำรวจโท กีรป กฤตธีรานนท์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรืÉอง การบริหารราชการส่วนท้องถิÉนตามแนวคําพพิ ากษาศาลปกครอง
ลกัษณะวชิา การเมือง
ผ
ู้วจิัย พ.ต.ท.กรีป กฤตธีรานนท
์
หลกัสูตร วปอ. รุ่นทีÉ ๕๗
การวิจยัเรืÉองนีÊมีวตัถุประสงค์คือเพÉือศึกษาสภาพปัญหาทีÉเกิดขÊึนจากการบริหาร
ราชการส่วนทอ้งถิÉนอนั นําไปสู่การฟ้องคดีต่อศาลปกครอง และเพืÉอศึกษาแนวทางการบริหาร
ราชการส่วนท้องถิÉนทีÉสอดคล้องกบั หลกัธรรมาภิบาล วิธีการวิจยัเป็นแบบเชิงคุณภาพโดยศึกษา
วเิคราะห์รูปแบบ ขÊนั ตอนและวิธีการบริหารราชการส่วนทองถิ ้ Éนตามแนวคาํพิพากษาของศาลปกครอง
สูงสุดแลว้สังเคราะห์และสรุปเป็นหลกัการบริหารราชการส่วนทอ้งถÉินทีÉสอดคลอ้งกบั หลกัธรรมา
ภิบาล ผลการวิจยัพบว่า องค์กรปกครองท้องถÉินมีสภาพปัญหาในการบริหารราชการโดยมีการ
ดาํ เนินการทÉีไม่ชอบด้วยกฎหมายในลกั ษณะของ 1) กระทาํการโดยไม่มีอาํ นาจ ได้แก่ออกคาํ สÉัง
หรือใชส้ิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเมืÉอพน้ระยะเวลา, สÉงัเบิกจ่ายเงินโดยไมม่ ีระเบียบให้กระทาํ
ได้ 2)กระทาํนอกเหนืออาํนาจหนา้ทÉีไดแ้ก่ออกคาํสัÉงแบ่งงานโดยไม่มีอาํนาจ 3)กระทาํไม่ถูกตอ้ง
ตามกฎหมาย ไดแ้ก่ออกคาํ สัÉงให้เจา้หน้าทีÉชดใช้ค่าสินไหมทดแทนทÊงที ั Éไม่ไดก้ระทาํละเมิดหรือ
ไม่ไดก้ระทาํโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่ออยา่ งร้ายแรง, ยกเลิกประกาศฉบบั เดิมให้มีผลยอ้นหลงั
อนั เป็นโทษแก่บุคคล,ลงนามเป็นคู่สัญญากบัองคก์รปกครองส่วนทอ้งถÉินนบัแต่วนั ทีÉไดร้ับเลือกตÊงั
4)กระทาํไม่ถูกตอ้งตามรูปแบบ ขÊนั ตอนหรือวิธีการอนั เป็นสาระสําคญั ทÉีกาํ หนดไวใ้นกฎหมาย
ไดแ้ก่ไม่แจง้ขอ้กล่าวหาและสรุปพยานหลกัฐานใหผ้ถูู้กกล่าวหาทราบ, เสนอญตัติเร่งด่วนทÊงที ั Éมิได้
เป็ นเรืÉองจาํ เป็นเร่งด่วน, ออกคาํ สÉังให้รืÊอถอนอาคารและสัÉงไม่ให้ใช้อาคารโดยมิได้ให้โอกาส
เจา้ของหรือผูค้รอบครองอาคารทราบขอ้ เท็จจริงอย่างเพียงพอและมิไดใ้ห้โอกาสโตแ้ยง้และแสดง
พยานหลักฐานก่อนมีคาํ สัÉง และมิได้ระบุเหตุผลในการออกคาํ สÉังดงักล่าว เป็นตน้ 5)กระทาํไม่
ถูกตอ้งตามวิธีการอนั เป็นสาระสําคญั ทีÉกาํ หนดไวส้ ําหรับการกระทาํ นÊนั ไดแ้ก่ นาํร่างเทศบญั ญตัิ
หรือขอ้ บญั ญตัิมาลงมติในวาระทีÉ ๓ เห็นชอบให้ตราเป็นเทศบญั ญตัิหรือขอ้ บญั ญตัิโดยไม่มีการ
พิจารณาในวาระทีÉ๒ ขัÊนแปรญตั ติ 6)กระทาํโดยไม่สุจริต ได้แก่ มีคาํ สÉังให้พนกังานส่วนทอ้งถÉิน
ซึÉงดาํรงตาํแหน่งเจ้าพนักงานพสัดุ๖ ไปช่วยปฏิบัติราชการในภารกิจของเจ้าหน้าทีÉพสัดุ๓ 7)
กระทาํโดยมีลกัษณะเป็นการเลือกปฏิบตัิทÉีไม่เป็นธรรม ไดแ้ก่การให้พนกังานส่วนทอ้งถิÉนคนหนึÉง
จดัทาํวสิัยทศัน์เพืÉอประกอบการพิจารณาเลืÉอนตาํแหน่งแต่มิไดใ้หค้ นอÉืนทีÉยืÉนคาํขอและมีคุณสมบตัิ ข
เช่นเดียวกนั ตอ้งจดั ทาํ ,ออกประกาศจดั ซÊือโดยกาํ หนดรายละเอียดหรือคุณลกั ษณะเฉพาะทาํให้มี
บริษทั รายเดียวทีÉคุณสมบตัิครบถ้วน 8) สร้างขัÊนตอนโดยไม่จาํ เป็น ได้แก่การให้พนกังานส่วน
ทอ้งถิÉนจดั ทาํวิสัยทศั น์ในการเขา้สู่ตาํแหน่ง ทÊงที ั Éพนักงานผูน้ Êันได้ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบด้าน
ความสามารถตามมาตรฐานกาํหนดตาํแหน่งแลว้ 9)ใชดุ้ลพินิจโดยมิชอบ ไดแ้ก่ การมีมติให้สมาชิก
สภาทอ้งถÉินพน้ จากสมาชิกภาพเพราะเหตุทีÉสมาชิกผูน้Êนใช้สิทธิร้องเรียนตามรัฐธรรมนูญ ั , มีคาํสÉัง
เลืÉอนขัÊนเงินเดือนให้แก่พนักงานส่วนทอ้งถÉินโดยไม่ปฏิบตัิตามประกาศคณะกรรมการพนักงาน
ส่วนทอ้งถิÉน, ขยายผวิการจราจรโดยไม่คาํนึงถึงความปลอดภยัของประชาชน เป็นตน 10 ้ )ละเลยต่อ
หน้าทีÉตามทีÉกฎหมายกาํ หนดให้ต้องปฏิบตัิหรือปฏิบตัิหน้าทÉีดงักล่าวล่าช้าเกินสมควร ไดแ้ก่ไม่
ออกคาํสัÉงเป็นหนงัสือหรือกาํหนดมาตรการหรือไม่เขา้ระงบั เหตุราํคาญตามกฎหมาย, ไม่ดาํ เนินการ
กวดขนั มิให้มีการจอดยานพาหนะและจาํ หน่ายสินคา้บนถนนหรือทางเทา้ เป็นตน้ 11) กระทาํ
ละเมิดทางปกครองอนั เกิดจากการใช้อาํ นาจตามกฎหมาย หรือความเสียหายเกิดจากการออกกฎ
คาํ สÉังทางปกครองหรือคาํ สัÉงอืÉน หรือละเลยต่อหน้าทีÉหรือปฏิบตัิหน้าทÉีดงักล่าวล่าช้าเกินสมควร
ได้แก่ไม่จดัเจา้หนา้ทÉีไวอ้าํ นวยความสะดวก ณ สํานกังานตามทÉีออกประกาศไว้, ยกเลิกการสอบ
ราคาตามทีÉคณะกรรมการเปิดซองสอบราคาเสนอความเห็นโดยไม่มีเหตุผลเพียงพอ, ปล่อยให้
คู่สัญญาจา้งก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชน เป็นตน้ 12)กระทาํผิดสัญญาทางปกครอง ไดแ้ก่
ไม่ตรวจรับมอบงานตามสัญญาจา้ง ทÊง ๆ ที ั Éขอ้ บกพร่องเกิดจากการทีÉองค์กรปกครองส่วนทอ้งถÉิน
ไม่ไดส้ ํารวจพÊนที ื ÉทีÉจะทาํการก่อสร้างจริงใหด้ีเสียก่อนทÉีจะส่งมอบพÊืนทีÉก่อสร้างให้แก่ผูร้ับจา้ง, บอก
เลิกสัญญาจ้างโดยไม่มีการแจง้เตือนเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร เป็นตน้ ซÉึงจากสภาพปัญหาดงักล่าว
ขา้งตน้ งานวิจยัชิÊนนีÊได้ขอ้ สรุปเกีÉยวกบั แนวทางการบริหารราชการส่วนทอ้งถÉินทีÉสอดคลอ้งกับ
หลกัธรรมาภิบาล ดงันÊีคือ 1) หลักนิติธรรม ผูบ้ ริหารทอ้งถÉินตอ้งปฏิบตัิหน้าทÉีให้เป็ นไปตาม
บทบญั ญตัิของกฎหมายและกฎทีÉเกÉียวขอ้ง เช่น เรืÉองอายุความ วิธีปฏิบตัิราชการทางปกครองการ
เรียกให้เจา้หน้าทÉีชดใชค้ ่าสินไหมทดแทน การบริหารงานบุคคลและการพสัดุ เป็นตน้ ปฏิบตัิตาม
ประกาศทีÉตนเองประชาสัมพนัธ์ไว้ไม่เลือกปฏิบตัิต่อบุคคลทÉีเหมือนกนั ในสาระสําคญั ด้วยวิธีทีÉ
แตกต่างกัน จดั ทาํ บริการสาธารณะตามอาํ นาจหน้าทÉีสภาท้องถิÉนตอ้งปฏิบตัิตามกฎหมายและ
ระเบียบเกีÉยวกบัการประชุมสภาทอ้งถิÉนและพิจารณามีมติอยา่ งเป็นธรรม 2) หลกัคุณธรรม ตอ้งไม่มี
ความลาํ เอียงหรือใชอคติในการพิจารณา ้ หรือมีคาํสัÉงทางปกครองจดั ทาํบริการสาธารณะเพืÉอแกไ้ข
ความเดือดร้อนของประชาชน ไมสร้าง ่ ผลกระทบต่อฐานะทางการเงินของคู่สัญญา ไม่จดัระบบงาน
ตามอาํ เภอใจหรือก่อใหเ้กิดความไม่เป็นธรรมแก่ผทู้ีÉมีอาํนาจหนา้ทÉีโดยชอบ 3) หลกัความโปร่งใส
ผูบ้ริหารทอ้งถิÉนตอ้งให้ประชาชนทราบขอ้ มูลข่าวสารทีÉประชาชนควรรู้ไม่ดาํ เนินการใดทีÉส่อไป
ในทางทีÉเอืÊอประโยชน์แก่บุคคลบางคนบางกลุ่ม ไม่ควรมอบหมายงานให้แก่พนกังานส่วนทอ้งถิÉน ค
โดยใช้ระบบอุปถมั ภ์เปิดโอกาสให้ผูถู้กกล่าวหาไดร้ับทราบพยานหลกัฐานทÉีเป็นโทษต่อตนเอง
พิจารณางบประมาณของทอ้งถÉินโดยคาํนึงถึงเหตุผลและความจาํ เป็นดว้ยการประชุมปรึกษาหารือ
หรือถกเถียงกนั ให้รอบคอบ 4) หลกัความมีส่วนร่วม ผูบ้ริหารทอ้งถÉินตอ้งให้โอกาสประชาชนมี
ส่วนร่วมในการให้ความเห็นในปัญหาสําคญั ๆ ของทอ้งถิÉน 5) หลกัความรับผิดชอบ ผูบ้ ริหาร
ทอ้งถิÉนตอ้งรักษาผลประโยชน์ขององคก์รปกครองส่วนทอ้งถิÉน จดัให้มีสาธารณูปโภคทีÉจาํ เป็นโดย
คาํ นึงถึงความสะดวกปลอดภยัและไม่สร้างความเดือดร้อนเสียหายแก่ประชาชน หามาตรการเพืÉอ
ระงับเหตุเดือดร้อนรําคาญของประชาชน ดาํ เนินการตามสัญญาจา้งอย่างรอบคอบ ตระหนักใน
ความถูกต้องชอบธรรมตามหน้าทีÉในการพิจารณาให้คุณให้โทษต่อบุคลากร สภาท้องถÉินต้อง
ตระหนักในหน้าทีÉการตรวจสอบการดาํ เนินการของฝ่ายบริหาร 6) หลกัความคุม้ค่า ผูบ้ ริหาร
ทอ้งถÉินตอ้งควบคุมมิให้มีการเบิกจ่ายเงินซÊาซ้อน ํ ป้องกนั มิให้มีการกระทาํละเมิดก่อให้เกิดความ
เสียหายแก่ประชาชน ไม่ปล่อยให้มีการสมยอมราคากนั ในการเสนอราคา ไม่ปล่อยให้ก่อสร้างผิด
แบบแปลนโดยไม่ทกั ทว้ง บอกเลิกสัญญาทนั ทีเมืÉอพบวา่ คู่สัญญาฝ่ายเอกชนไม่สามารถดาํ เนินการ
ก่อสร้างต่อไปได้สภาทอ้งถÉินตอ้งป้องกนั มิให้มีการใชง้บประมาณโดยไม่สมเหตุสมผลเช่น การ
อนุมตัิซÊือทีÉดินตามทีÉกาํหนดคุณลกัษณะเฉพาะไวเ้พืÉอผลประโยชน์ของผบู้ริหารทอ้งถÉิน เป็นตน้
abstract:
ABSTRACT
Title Local Administration Following the Decision of Administrative Court
Field Politics
Name Pol.-Lt.-Col. Keirov Kritteeranon Course NDC Class 57
The objective of this research is to study the problems of local administration which lead
to the crown proceedings to the Administrative Court and to study the models of local administration
which conform to the principles of good governance. The methodology is a qualitative research that
the researcher analyzed ways, procedures and means of the local administration following the Highest
Administrative Court’s decision and then synthesized and concluded to the models of local
administration which conform to the principles of good governance. The research found that the
problems of local administrative agencies were unlawful actions in forms of: 1) accroach, such as
issue or demand of compensation after prescription, issue of withdrawal without regulation; 2) extra
vires, such as issue of assignment beyond authorities; 3) preter legal, such as issue to a person who
was not a tort-feasor to pay compensation or did not act willfully or gross negligently, abolishment a
precedent proclamation and then issue a harmful retrospective rule, to be parties of a local
administrative agency since elected day; 4) wrong acts of ways, procedures or means of main points
stated in laws, such as not to inform allegation and conclude evidences for the accused, making
necessitous motion but it was not a significant and urgent matter, issue of building demolishment and
prohibiting of building using without opening an opportunity for owner or occupant to know enough
facts and to dispute and show evidences; 5) wrong acts of significant ways of particular doing, such
as voting on the third item on the agenda without an amendment on the second one; 6) dishonesty,
such as issue of job assignment for a local employee level 6# to perform jobs of one level 3#; 7)
unfair discrimination, such as requirement of a local employee to present vision for promotion but not 2
of other ones, determination supplementary specification of procurement bring about only one
qualified company; 8) making unnecessary procedure, such as requirement of a local employee to
present vision for promotion even though that person had been qualified by the standard of position;
9) wrongful administrative discretion, such as voting for demotion a councilor because of using
constitutional right to complain, issue of local employee promotion by ignoring the rules of the Local
Employee Council, enlarging of road surface without consideration about people safety; 10) breach of
duty or delay on duty performance, such as not to issue in writing or laying down measures or not to
take actions against nuisance as regulated by law, not to strictly prohibit parking on road surfaces or
footpaths; 11) administrative tort caused by legal actions or damage caused by rule issue,
administrative order or other order or breach of duty or delay on duty performance, such as not to
assign local employee to perform duty as proclaimed, repealing procurement without proper reason,
neglecting of parties controlling caused damage to people; 12) wrongful administrative contract, such
as not to accept construction determined in contract even though obstacle caused by the local
administrative agency, canceling contract without notification in writing. From the problems
mentioned above, this research can conclude the models of local administration which conform to the
principles of good governance that were: 1) Rule of Law Principle were that local administrator must
perform duties conform to laws and rules concerned such as prescription, administrative procedure,
issue of compensation, personnel management, procurement etc., perform duty as proclaimed, do not
discriminate, provide public services determined by laws, local council must follow laws and rules of
local council agenda and vote fairly; 2) Ethics Principle were that local administrator must not
consider or issue administrative order with bias or prejudice, provide public service in order to relieve
distress of people, not escalate the effect of financial status of parties, not assign job arbitrarily or
unfairly to authority; 3) Transparency Principle were that local administrator must inform people the
information which people should know, not perform duty with cronyism, not assign job with
patronage system, open an opportunity to accused to be known about the evidence which was
harmful, consider annual budget with reasons and necessities by debating; 4) Participation Principle
was that local administrator must open an opportunity to people to participate in significant problems; 3
5) Responsibility Principle were that local administrator must protect the local administrative
agency’s interests, provide public service conveniently and safely and no damage to people, lay down
measures to restrain nuisances, proceed contract prudently, realize the integrity related personnel
management, local council must realize the monitoring of performances of local administrator; 6)
Value for Money Principle were that local administrator must control withdrawal, prevent tort to
damage people, protect the mutually consent of procurement, protest wrong construction, cancel
contract promptly when parties can not continue the construction, local council must protect
unreasonable budget spending.