เรื่อง: แนวทางของกระทรวงกลาโหมในการส่งเสริมความยั่งยืน ต่อความร่วมมือ, (วปอ.9075)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ต. เลิศฤทธิ์ ช่องวารินทร์, (วปอ.9075)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางของกระทรวงกลาโหมในการส่งเสริมความยั่งยืนต่อความร่วมมือ
ทางทหารของอาเซียนในกรอบการประชุมรัฐมนตรีกลาโหม
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พลตรี เลิศฤทธิ์ ช่องวารินทร์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๒
ความร่วมมือทางทหารของประเทศสมาชิกอาเซียน ตั้งแต่ครั้งแรกเมื่อปี ๔๙ จนถึงปัจจุบัน
มีจุดเริ่มต้นและมีแรงผลักดันจากเอกสารแนวความคิด-(Concept-Paper)-ที่ริเริ่มในเรื่องต่าง ๆ และ
ได้รับการรับรองเป็นฉันทามติจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมทั้ง ๑๐ ประเทศ โดยมีเอกสาร
แนวความคิดริเริ่มต่าง ๆ ซึ่งเกิดจากการประชุม-ADMM-ที่ส าคัญ จ านวน ๑๒ ฉบับ แต่การน าเอกสาร
แนวความคิดเหล่านั้นไปสู่การปฏิบัติเป็นรูปธรรมยังไม่สมบูรณ์ นอกจากนี้ การประชุม-ADMM-และ
ADMM-Plus ในห้วงการเป็นประธานอาเซียนของไทยในปี ๖๒ นั้น มีประเด็นท้าทายความเป็นเอกภาพ
และแกนกลางของอาเซียนในเรื่องการคัดเลือกประเทศนอกคู่เจรจาเป็นผู้สังเกตการณ์ในคณะท างาน
ผู้เชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ ในกรอบการประชุม-ADMM-Plus-รวมทั้ง ประเทศสมาชิกอาเซียนก็ยัง
มีความคิดเห็นที่แตกต่างกันในการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการกับประเทศ
คู่เจรจา ซึ่งประเด็นดังกล่าวเป็นประเด็นที่ท้าทายความเป็นแกนกลางของอาเซียน
ทั้งนี้ การที่กระทรวงกลาโหมจะด าเนินงานสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔
การบูรณาการความร่วมมือด้านความมั่นคงกับอาเซียน และนานาชาติ รวมถึงองค์กรภาครัฐและที่มิใช่
ภาครัฐ ในยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง รวมทั้งมีแนวทางในการส่งเสริมความยั่งยืนต่อความร่วมมือ
ทางทหารของอาเซียนในกรอบการประชุมรัฐมนตรีกลาโหม ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลนั้น
งานวิจัยชิ้นนี้จึงมุ่งศึกษาความร่วมมือทางทหารของอาเซียนในกรอบการประชุม ADMM และ ADMM-Plus
รวมทั้งวิเคราะห์ ปัญหา อุปสรรค/ข้อขัดข้อง ที่ท้าทายต่อความยั่งยืนของความร่วมมือทางทหารของ
อาเซียนในกรอบการประชุม ADMM และ ADMM-Plus เพื่อก าหนดท่าที และผลักดันให้ความร่วมมือทาง
ทหารของอาเซียนมีความยั่งยืน ตามแนวคิดหลักของกระทรวงกลาโหม คือ“ความมั่นคงที่ยั่งยืน” ในการ
เป็นประธาน การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน ในปี ๖๒ โดยผลการวิจัยได้เสนอแนวทาง
ของกระทรวงกลาโหมในการส่งเสริมความยั่งยืนต่อความร่วมมือทางทหารในกรอบอาเซียน โดยใช้แนวคิด
หลัก 4C คือ ความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence) ความสอดคล้อง (Consistency) ความแข็งแกร่ง
(Consolidation) และความเป็นแกนกลาง (Centrality)ดังนี้๑) ส่งเสริมให้ยกระดับความไว้เนื้อเชื่อใจ
ซึ่งกันและกัน (Confidence) ในกรอบการประชุม ADMM และ ADMM–Plus ๒) ส่งเสริมความสอดคล้อง
(Consistency) ซึ่งเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ส าคัญต่อความยั่งยืนต่อความร่วมมือทางทหารของอาเซียน
ให้เกิดขึ้นในกรอบการประชุม ADMM ๓) เสริมสร้างความแข็งแกร่ง (Consolidation) ให้กับความร่วมมือ
ในกรอบ ADMM ซึ่งมีขอบเขตความร่วมมือที่กว้างขึ้น บริหารจัดการทรัพยากรและเวลาให้มี
ประสิทธิภาพในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งโดยไม่เกินทรัพยากรที่มีอยู่ ๔)ส่งเสริมการสร้างประชาคมข
อาเซียนให้เข้มแข็ง ด ารงความเป็นแกนกลางของอาเซียน (Centrality) โดยเฉพาะกรณีที่ประเทศสมาชิก
อาเซียน มีความคิดเห็นที่แตกต่างกันในการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการกับ
ประเทศคู่เจรจา และการคัดเลือกประเทศนอกคู่เจรจาเป็น ผู้สังเกตการณ์ในคณะท างานผู้เชี่ยวชาญ
ด้านต่าง ๆ ในกรอบการประชุม ADMM-Plus เพื่อลดความท้าทายความเป็นแกนกลางของอาเซียน
abstract:
Abstract
Title Ministry of Defence’s Guidelines for Enhancing Sustainability toward ASEAN
Defence Cooperation within ASEAN Defence Ministers’ Meeting Framework
Field Military
Name Major General Lertrit Chongwarin Course NDC Class 62
ASEAN defence cooperation from its beginning since 2006 until present
has originated and derived from concept papers. Those concept papers were
adopted and approved in consensus from all 10 ASEAN Member States’ defence
ministers. There are 12 concept papers established under ASEAN Defence Ministers’
Meeting (ADMM) framework, however, putting these papers into concrete practice has
been incomplete. In addition, as Thailand’s ASEAN Chairmanship in 2019, there were
a number of challenged issues effecting ASEAN’s consolidation and centrality. Those
some of challenges are the approval process of observership application of non-plus
countries in ADMM-Plus (ASEAN Defence Ministers’ Meeting Plus) Experts’ Working
Group Activities, and arguing among ASEAN Member States on the arrangement of
ADMM + 1 Informal Meeting.
In terms of Ministry of Defence’s support in Thailand National Strategy section 4
stated that “Integrating security cooperation within the ASEAN region and among foreign
countries including related government and non-governmental organization” as well as having
guidelines for enhancing sustainability toward ASEAN defence cooperation within ADMM
Framework effectively and efficiently, therefore, this research focuses on studying as well as
analyzing a variety of problems and difficulties which challenge ASEAN defence cooperation
within ADMM and ADMM-Plus framework in order to determine Ministry of Defence’s position
and push forward sustainability to ASEAN defence cooperation as adhering to the Ministry of
Defence’s main theme of “Sustainable Security”, in the year of Thailand ADMM Chairmanship
in 2019. The outcomes of this research mainly present Ministry of Defence’s
guidelines for enhancing sustainability toward ASEAN defence cooperation within
ADMM’s framework which adheres to the 4C theme of “Confidence, Consistency,
Consolidation, and Centrality. The guidelines focuses on 1) contributing to enhance
confidence building within ADMM and ADMM-Plus 2) promoting consistency which is
the main factor for enhancing sustainability toward ASEAN defence cooperation
within ADMM’s framework 3) enhancing consolidation for widening scope of ADMM
cooperation framework as well as managing and strengthening military resource and
timing efficiently, and 4) strengthening ASEAN Community and adhering strictly to ง
ASEAN Centrality in case of facing with disagreement in conducting ADMM + 1
Informal Meeting as well as in the approval process of observership application of
non-Plus countries in ADMM-Plus Experts’ Working Group Activities in order to avoid
any challenges which will lead to weaken ASEAN centrality.