Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ด้วยระบบการรับรองแบบมีส่วนร่วม, (วปอ.9056)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาวภัทราภรณ์ โสเจยยะ, (วปอ.9056)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ด้วยระบบการรับรองแบบมีส่วนร่วม Mobilizing Organic Agriculture through Participatory Guarantee System (PGS) ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผู้วิจัย นางสาวภัทราภรณ์ โสเจยยะ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62 การศึกษ าวิจัยนี้มีวัตถุป ระสงค์เพื่อศึกษ ากระบวนการและปัจจัยที่ส่งผลต่อ การขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ด้วยระบบการรับรองแบบมีส่วนร่วม (Mobilizing organic agriculture participatory guarantee system (PGS) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการขยายผลสู่กลุ่มเป้าหมาย ให้ สามารถเพิ่มพื้นที่เกษตรอินทรีย์ในการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ให้เพียงพอกับความต้องการของ ผู้บริโภคทั้งภายในประเทศและการส่งออก ศึกษารวบรวมข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิโดยการสัมภาษณ์ ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน และเกษตรกรต้นแบบในเชิงลึก รวมถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเกษตรอินทรีย์ ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยที่มีผลท าให้การขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม (PGS) ให้ประสบ ความส าเร็จ ได้แก่ หน่วยงาน องค์กรสนับสนุนในพื้นที่ องค์กรจัดระบบเกษตรอินทรีย์ PGS (มูลนิธิ เกษตรอินทรีย์ไทย) ผู้บริโภค ผู้ประกอบการ และกลุ่มเกษตรกรเกษตรอินทรีย์ที่มีพี่เลี้ยงคอยให้ ค าแนะน าปรึกษา ที่ต้องท างานร่วมกันโดยเน้นจากความต้องการของกลุ่มเกษตรกรเป็นหลัก รวมทั้ง การมีผู้น ากลุ่มที่เข้มแข็ง สามารถสร้างความร่วมมือและการยอมรับภายในกลุ่มให้ปฏิบัติตาม ข้อก าหนดที่กลุ่มก าหนดร่วมกัน ปัจจัยดังกล่าวมีอิทธิพลท าให้เกษตรกรมีโอกาสผ่านการรับรอง มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ได้มากกว่าเกษตรกรที่ไม่มีหน่วยงานให้การสนับสนุน ดังนั้นภาครัฐควรให้ การสนับสนุนกลุ่มเกษตรอินทรีย์อย่างต่อเนื่องทั้งในด้านองค์ความรู้ เจ้าหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงให้ค าแนะน า ทางวิชาการ สนับสนุนด้านการตลาด รวมทั้งสนับสนุนงบประมาณให้เกษตรกรสามารถเริ่มต้นได้ใน ระยะแรก ซึ่งจะท าให้ระบบการรับรองแบบมีส่วนร่วม (PGS) สามารถเพิ่มโอกาสและช่องทาง การจ าหน่ายสินค้าของเกษตรอินทรีย์ในกลุ่มเกษตรกรรายย่อยที่ปลูกพืชผสมผสาน ได้ทั้งในตลาด ชุมชน และตลาดสินค้าออนไลน์ ส่งผลให้สินค้าเกษตรอินทรีย์ PGS เป็นที่รู้จักและมีศักยภาพใน การขยายสู่ตลาดที่กว้างขวางและเพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภคได้มากขึ้น

abstract:

Abstract Title Mobilizing Organic Agriculture through Participatory Guarantee System (PGS) Field Economics Name Miss Pattaraporn Sojayya Course NDC Class 62 This research aims to study the process and factors affecting the mobilizing organic agriculture through participatory guarantee system (PGS), using as a guideline for extending results to the target group to increase organic agricultural area that will improve sufficient productivity for both domestic demand and export. The data have been obtained from both primary and secondary data with in-dept interview; the executives, officer and smart farmers, including the information about organic agriculture. The findings indicate that the effective factors which drive organic agriculture through participatory guarantee system (PGS) to success are synergy of organization, supporting team in the area, PGS Organic (Thai Organic Agriculture Foundation) , consumer, entrepreneur and organic farmer who have an advisor. Furthermore, a strong leader who can drive cooperation and acceptance to the group members also play important role. These factors provide more opportunities for the farmer to get the organic agriculture certification than the farmer who do not have any supporting from the organization. Therefore, the government should encourage organic agriculture continuously by providing knowledge, technical advisor, marketing development including budget to farmer at the beginning. As a consequence, the PGS will be able to increase opportunity as well as distribution channel of organic agricultural products for the small-scale farmer who do integrated farming in both local and online market. Consequently, PGS products will be recognized and having high potential for market expansion and meet the consumer demand.