Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางบริหารจัดการขยะเพื่อแปรรูปเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต, (วปอ.9047)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายพุทธชาติ รังคสิริ, (วปอ.9047)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางบริหารจัดการขยะเพื่อแปรรูปเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้วิจัย นายพุทธชาติ รังคสิริ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่62 งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการบริหารจัดการขยะเพื่อแปรรูปเป็น พลังงานทดแทนในอนาคตที่มีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งศึกษา ทบทวนนโยบาย มาตรการ แนวทางและ ปัจจัยความส าเร็จของการจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพ เพื่อเสนอแนะมาตรการและกลยุทธ์ในการส่งเสริม การบริหารจัดการขยะเพื่อแปรรูปเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วย การวิจัยเอกสารที่น่าเชื่อถือ ข้อมูลสถิติ ข้อมูลจากภาครัฐและภาคเอกชน ทั้งในและต่างประเทศ และใช้ การวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อวิเคราะห์ข้อเท็จจริง ปรากฎการณ์ต่างๆ แนวปฏิบัติที่ดีของต่างประเทศ น ามา วิเคราะห์เป็นข้อมูลประกอบการน าเสนอมาตรการและกลยุทธ์ในการบริหารจัดการขยะเพื่อแปรรูปเป็น พลังงานทดแทนที่มีประสิทธิภาพได้ ผลการวิจัยพบว่า เป้าประสงค์หลักของการด าเนินการเพื่อให้เกิดโรงไฟฟ้าพลังงานขยะนี้ คือ เพื่อต้องการความมั่นคงทางพลังงานในอนาคตของประเทศไทย และแก้ปัญหาขยะในประเทศไทยที่ เข้าขั้นวิกฤติ แต่ยังต้องพึงระวังเรื่องผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทั้งชุมชนใกล้เคียง สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ดังนั้น ผู้วิจัยจึงเสนอมาตรการและกลยุทธ์ในการส่งเสริมการบริหารจัดการขยะเพื่อแปรรูปเป็นพลังงาน ทดแทน จ านวน 7 มาตรการ (7 ด้าน) ดังนี้ 1) ด้านมาตรฐานโรงไฟฟ้า ภาครัฐต้องก าหนดมาตรฐานกลาง เพื่อมาก ากับดูแลให้การก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานขยะให้เป็นไปตามมาตรฐานกลางอย่างเข้มงวด 2) ด้าน การอยู่ร่วมกันกับสังคม โรงไฟฟ้าต้องแสดงความชัดเจนในระบบการบ าบัดมลพิษเพื่อสร้างความไว้วางใจ ให้กับชุมชน สร้างภาพลักษณ์ที่ดีของโรงไฟฟ้าพลังงานขยะ สร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างแรงจูงใจและ สร้างวินัยของคนในชาติต่อการจัดการขยะ ตลอดจนประชาชนในพื้นที่มีงานท า สร้างรายได้ให้กับชุมชน 3) ด้านการลงทุน รัฐต้องมีมาตรการส่งเสริมการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน เพื่อจูงใจ ผู้ประกอบการเอกชนเข้ามาลงทุน 4) ด้านการศึกษาองค์ประกอบ ต้องมีการศึกษาหลักเกณฑ์ต่างๆ ของ โรงไฟฟ้าตามหลักบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมสากล รวมถึงส่งเสริมงานวิจัยและพัฒนาการประยุกต์ใช้ พลังงานจากขยะและค้นคว้านวัตกรรมใหม่ๆ 5) การร่วมมือจากรัฐ รัฐต้องควบคุมดูแลผู้ประกอบการและ ข้าราชการที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมมาตรการที่ไม่ปิดกั้นส าหรับพลังงานไฟฟ้าจากขยะ 6) ด้านการบริหาร บูรณาการความร่วมมือจากกระทรวงมหาดไทย องค์กรปกครองท้องถิ่น ที่เอื้อต่อการบริหารจัดการขยะที่ ดีและครบวงจร ไม่ซ้ าซ้อนกัน 7) ด้านกฎหมาย ก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขในการก าจัดหรือท าลาย ขยะหรือของเสียแต่ละประเภทให้ชัดเจน รวมไว้ในกฎหมายฉบับเดียว และทบทวนการลดมาตรการที่เป็น หลักประกันการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ เพื่อไม่ให้เกิดการใดที่ละเลยแล้วอาจส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม

abstract:

ABSTRACT TiTle : Waste Processing Management to Renewable Energy in the Future Field : Science and Technolgy Name: Mr.Puttachat Rungkasiri Course NDC Class 62 Purposes of study were: to provide management of waste processing to efficiency renewable energy: to review policy, regulation, process, and successful aspect of efficiency waste processing management; to recommend standard and strategy of waste processing management to renewable energy in the future. Qualitative methodology was applied by reliable literature, statistic data, public and private data from both inside and outside country also content analysis to analyze the fact including several situations, oversea regulation for distributing standard and strategy I the waste processing management to efficiency renewable energy. Results found that significant purposes of waste energy processing were to determine security of future energy in Thailand, to solve crisis of waste problem and effect to community and environment crisis. Researcher provided standard and strategy of waste processing management to renewable energy in 7 aspects as following: 1) standard of power plant: state might need to determine a standard for rigorous supervision waste power plant. 2) Cohabit in society: power plant might be distinguish in pollution treatment according to community confidential, positive image of waste power plant, cognition, motivation, and discipline regarding waste disposal, employment, and prosperity for community. 3) Investment: state might create a regulation to promote a power purchase from renewable energy for encouraging private entrepreneur investment. 4) Component study: several regulations of power plant, which were managed by international environment management, must be studied including research regarding waste processing management and innovation must be studied as well. 5) State cooperation: state had to control entrepreneur and official concerning also should not lock any projects regarding electricity from waste. 6) Management: to integrate coordination from Ministry of Interior and local government that completely supported waste processing management without redundant. 7) Law: to determine regulation, methodology, and condition towards waste disposal or category of waste explicitly. To gather these aspects in one law and to reduce any regulation that coverage environment and health according to negligence that might be effected to environment.