เรื่อง: แนวทางการใช้เทคโนโลยีระบบเครื่องฝึกจำลองเพื่อบริหารจัดการสาธารณภัยในประเทศไทย, (วปอ.9040)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาวาอากาศโทพัฒน์ วินมูน, (วปอ.9040)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการใช้เทคโนโลยีระบบเครื่องฝึกจ าลองเพื่อบริหารจัดการสาธารณภัย
ในประเทศไทย
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัย นาวาอากาศโท พัฒน์ วินมูน หลักสูตร วปอ. รุ่น ๖๒
ภัยพิบัติหมายถึงอันตรายที่น าไปสู่หายนะซึ่ง ณ ปัจจุบันประเทศไทยได้ก าหนด
การเกิดภัยพิบัติให้เป็นสาธารณภัย ซึ่งประเทศไทยได้มีแผนส าหรับการรับมือสาธารณภัยไว้อยู่แล้ว
โดยก าหนดให้เป็นวงจรการจัดการสาธารณภัย มี ๖ ขั้นตอนดังต่อไปนี้ ๑. การป้องกัน ๒. การบรรเทา
ผลกระทบ ๓. การเตรียมพร้อม ๔. การรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉิน ๕. การฟื้นฟูบูรณะ
๖. การพัฒนา
แนวทางการแก้ไขเมื่อประสบปัญหาสาธารณภัยมีการแบ่งแยกการปฏิบัติงานเป็น
๑. การด าเนินการก่อนเกิด ๒. การด าเนินการระหว่างเกิด และ ๓. การด าเนินการหลังการเกิดภัยไป
แล้ว การมีแผนรับมือที่ดีจากเครือข่ายชุมชน และเทคโนโลยีเครื่องฝึกจ าลองจะช่วยให้ผู้ประสบภัย
และเจ้าหน้าที่ลดช่องว่างของเวลาในการเข้าให้ความช่วยเหลือ ท าให้การบริหารจัดการง่ายขึ้น
อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริม การพัฒนาประเทศในสังคมยุคดิจิทัลตามนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ ที่มุ่งเน้น
การพัฒนานวัตกรรมที่มีการน าเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้ในทุก ๆ ด้านการด าเนินการวิจัยในครั้งนี้
เป็นการวิเคราะห์การจัดท าการทดลองรูปแบบการจัดการภัยเครือข่ายองค์กรชุมชน และการใช้
เทคโนโลยีเครื่องฝึกจ าลองสถานการณ์ โดยศึกษาและรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิเกี่ยวกับภัย ศึกษา
เทคโนโลยีระบบเครื่องฝึกจ าลองที่เกี่ยวข้องในการป้องกันและรับมือกับสถานการณ์การเกิดสาธารณภัย
เพื่อเก็บข้อมูลปฐมภูมิ แล้วจึงหารูปแบบการแก้ไขการจัดการ และการพัฒนา รวมถึงการฝึกอบรม
ที่เกี่ยวข้องในการน าเอาเทคโนโลยีเครื่องฝึกจ าลองสถานการณ์มาปรับใช้อย่างเหมาะสมกับผู้ปฏิบัติ
หรือหน่วยงาน
ผลการวิจัยส าหรับส าหรับการจัดการภัยเครือข่ายองค์กรชุมชนโดยมีการรวมตัว
จากหลาย ๆ อ าเภอเข้าด้วยกันจึงถือเป็นกลุ่มคนที่อาจจะเรียกได้ว่าเป็นตัวแปรอันส าคัญที่จะท าให้
รอดจากภัยได้ ซึ่งมีการด าเนินกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อรวบรวมเป็นฐานข้อมูลในการแก้ไขปัญหา มีการ
จัดท าแผนชุมชน เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้แก่ชุมชน โดยเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน
ในการแก้ปัญหาชุมชนในมิติต่าง ๆ ในส่วนของระบบเครื่องฝึกจ าลองส าหรับจัดการภัยจะประกอบ
ไปด้วยการใช้โครงข่ายข้อมูลจากแผนที่ทางภูมิศาสตร์ ข้อมูลจ านวนประชากรในแต่ละพื้นที่ และ
อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยต้องมีการเข้าถึงข้อมูลเหล่านั้นจากการให้ความร่วมมือของทุกภาคส่วน
abstract:
Abstract
Title The Guidance on the Use of Simulation Technology for Natural Disaster
Management in Thailand
Field Science and Technology
Name Wg.Cdr. Phat Winmoon Course NDC Class 62
“Disaster”, as its meaning, refers to any dangers that can lead to disastrous.
Thailand also set some plans for disaster management as 6 following steps which are
1. prevention 2. impact mitigation 3. preparedness 4. emergency response5. rehabilitation
and 6. Development
There are 3 main solutions when it comes to public disaster management :
1. Pre-occurrence 2. In-between occurrence and 3. Post-occurrence. The existence
of a good plan form “community network” and “simulation technology” “(The plan)
used for disaster prevention and management” will reduce the gaps between the
victim and the rescue officer will be lessened. So, this can truly be the creative national
development policy “Thailand 4.0”, which focuses on the innovation development
from applied technologies in every area. The researcher aims to conduct and analyze
an experiment model to study and collect the primary and secondary data which are
“(The plan) used for disaster prevention and management” After that, the researcher
will conclude possible solutions in order to develop the disaster prevention and
management system to be suitable for relevant officers or departments.
Research results, Firstly, disaster management supervised by community
network is established from several districts. This “community network” is said to be
“a key factor” which defines percent of survival when disaster occurred. Secondly,
the simulation technology for disaster management consists of the use of geographic
maps and information for simulation in terms of rescue team. Most importantly, in
order to make use of technology possible, all levels of management board should
make decisions and cooperation to draft legislation and create learning processes for
government organizations/officers, rescue teams, and volunteers under the same
practice.