เรื่อง: กระบวนการยุติธรรมทางเลือกในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตำรวจตรี ชนสิษฎ์ วัฒนวรางกูร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรืÉอง กระบวนการยตุ ิธรรมทางเลือก ในพืÊนทีÉจงัหวดัชายแดนภาคใต
้
ลกัษณะวชิา การเมือง
ผ
ู้วจิัย พล.ต.ต.ชนสิษฎ
์
วฒั นวรางกูร หลกัสูตร วปอ. รุ่นท ๕๖ ีÉ
การศึกษาวิจยันÊีมีวตัถุประสงคเ์พÉือศึกษารูปแบบปัญหาทางกฎหมาย และเสนอแนะ แนว
ทางแกไ้ขปัญหาของกระบวนการยตุ ิธรรมทางเลือก กรณีการอบรมแทนการฟ้องคดีอาญา ตามมาตรา ๒๑
แห่งพระราชบญั ญตัิการรักษาความมนÉัคงภายในราชอาณาจกัร พ.ศ.๒๕๕๑ โดยศึกษาเฉพาะคดีความ
มันคงในพื É ÊนทีÉจงัหวดัชายแดนภาคใต้เป็นการวจิยัเป็นเชิงคุณภาพใชก้ารศึกษาเอกสาร บทความวชิาการ
รูปแบบกระบวนการยุติธรรมทางเลือกในประเทศไทยและต่างประเทศ และทาํการสัมภาษณ์บุคคลทีÉ
เกีÉยวข้องแล้วนํามาวิเคราะห์เพืÉอให้ได้แนวทางในการแก้ไขปัญหาทางกฎหมายเกีÉยวกับรูปแบบ
กระบวนการยุติธรรมทางเลือก
จากการศึกษาพบว่า การอบรมแทนการฟ้องคดีอาญา ปัจจุบนั บงัคบั ใช้ในพÊืนทีÉ๕อาํ เภอ
ได้แก่ อาํ เภอจะนะ อาํ เภอเทพา อาํ เภอนาทวีอาํ เภอสะบ้ายอ้ย จงัหวดั สงขลา และอาํ เภอ แม่ลาน
จงัหวดัปัตตานีเพืÉอเปิดโอกาสให้ผทู้ีÉหลงผดิกลบั ตวักลบัใจเขา้มอบตวัต่อพนกังานเจา้หนา้ทีÉโดยพนกังาน
สอบสวนส่งสํานวนการสอบสวนพร้อมความเห็นไปให้ผูอ้าํนวยการรักษาความมนคงภายใน Éั ราชอาณาจกัร
พิจารณา หากเห็นดว้ยกบัความเห็นของพนกังานสอบสวนให้ส่งสํานวนคดีพร้อมความเห็นให้พนกังาน
อยัการยนืÉ คาํร้องต่อศาลขอให้ส่งผตู้อ้งหาไปอบรมแทนการฟ้อง เมืÉอศาลเห็นสมควรและผูต้อ้งหายินยอม
ศาลจะสัÉงให้ส่งผูต้อ้งหานÊนั เขา้รับการอบรม เป็นเวลาไม่เกินหกเดือน เมืÉอผา่ นการอบรม และปฏิบตัิตาม
เงืÉอนไขทีÉศาลกาํหนดแลว้ สิทธินาํคดีอาญามาฟ้องผตู้อ้งหานÊนั เป็นอนัระงบัไป
ในเรืÉองของปัญหาทีÉพบ ไดแ้ก่ปัญหาความไม่ครอบคลุมของพÊืนทีÉบงัคบั ใช้ทาํให้ผูต้อ้งหาทีÉ
กระทาํความผิดนอกเขตพÊืนทีÉไม่สามารถเข้ามอบตัวต่อพนักงานเจ้าหน้าทÉีเพืÉอเข้าสู่กระบวนการได้
ควรขยายพืÊนทีÉดาํ เนินการให้มีความครอบคลุม ปัญหาเกÉียวกับระยะเวลาในการควบคุมตัวผูต้ ้องหา
เนืÉองจากตอ้งแยกสํานวนการสอบสวนดาํ เนินคดีอาญาปกติไปพร้อมกนั ควรนาํ มาตรการชะลอการฟ้อง
ในชัÊนพนักงานอยัการมาใช้เทียบเคียงพระราชบญั ญัติพระราชบญั ญตัิฟÊืนฟูสมรรถภาพผูต้ิดยาเสพติด
พ.ศ.๒๕๔๕ ซึÉงมีความยืดหยุ่นรองรับการปฏิบตัิหน้าทีÉของพนักงานสอบสวนและพนักงานอยัการ
ไดด้ีกวา่ และปัญหาเกีÉยวกบัการเยยีวยาผูเ้สียหายควรตอ้งให้ผเู้สียหายยนิยอมเพราะผเู้สียหายมีอาํนาจฟ้อง
ดว้ยตนเอง โดยเจา้หน้าทีÉเป็ นคนกลางในการเจรจาและมีงบประมาณสนับสนุนในการเยียวยาผูเ้สียหาย
นอกจากนัÊนเป็นปัญหาในทางปฏิบตัิซÉึงสามารถแกไ้ขไดใ้นระดบัเจา้หนา้ทีÉ
abstract:
ABSTRACT
Title Alternative Criminal Justice in the Southern Border Provinces of
Thailand
Field Politics
Name Pol.Maj.Gen. Chonasit Wattanavrangkul Course NDC Class 56
The objective of this qualitative research is to study the procedure, the legal
problems and the solution proposals of the alternative criminal justice: training instead of
prosecution under the section 21 of the Internal Security Act B.E.2551 of the Kingdom of
Thailand, particularly, the security cases in the southern border provinces of Thailand. The
qualitative methods employ documentary research and in-depth interview.
The training instead of criminal charges is now being enforced in 5 districts which
are Chana, Thepha, Na-Thawi, Saba-Yoi in Songkhla and Mae Lan in Pattani. This is to provide
opportunities for those who are charged of national security cases to be surrendered to the officers.
This begins by the inquiry officer submit the case to the authorized officer. If approved, the public
prosecutor will file the complaint to the court asking to send the accused to the training instead of
prosecution. If the court sees the case as appropriate and the accused consents, the court may order
the accused for training instead of having a criminal charge for a period not exceeding six months.
When the accused completes the training and abides by all the conditions, the rights of bringing the
criminal charges against the accused will be extinguished.
The study found some significant legal obstacles in concern with jurisdictions, time,
and compensation. The jurisdictions seem not to cover all the regulated areas in the southern
border provinces. So the accused who commits the offence in external territories may not be
able to surrender themselves to the officers and enters the entire procedure. Furthermore, the
problem of authorized detention time before filing a complaint to the court, this should take a
measure to slow down the action at the prosecutor level by applying the detention process of the
Narcotic Addict Rehabilitation Act B.E.2545 (2002). The compensation issue, however, the
victim still has the rights to prosecute by themselves so this procedure needs the consent of the
victim and also a proper compensation for the victim.