เรื่อง: แนวทางการปรับปรุงโครงสร้างอุตสาหกรรมน้ามันปาล์ม เพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันและสร้างความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน, (วปอ.9017)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายบุญสิทธิ์ เรืองผล, (วปอ.9017)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการปรับปรุงโครงสร้างอุตสาหกรรมน ้ามันปาล์ม เพื่อเพิ่มศักยภาพ
การแข่งขันและสร้างความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายบุญสิทธิ์ เรืองผล หลักสูตร วปอ. รุ่นที่62
ปาล์มน ้ามัน เป็นพืชเศรษฐกิจของไทยที่มีความส้าคัญด้านความมั่นคงทางอาหาร
และพลังงาน ผลผลิตปาล์มน ้ามันของไทยเป็นอันดับสามของโลกรองจากประเทศอินโดนีเซียและ
ประเทศมาเลเซีย อย่างไรก็ตามปาล์มน ้ามันและน ้ามันปาล์ม ยังเป็นพืชที่มีปัญหาความไม่สมดุลของ
อุปทานและอุปสงค์ในแต่ละปี การศึกษาจึงจะศึกษาโครงสร้างข้อมูลผลผลิตของอุตสาหกรรมน ้ามัน
ปาล์มทั งจากภาคเกษตรและอุตสาหกรรม วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในกระบวนการพัฒนา
อุตสาหกรรมน ้ามันปาล์มในพื นที่ และเสนอแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมน ้ามันปาล์ม เพื่อเพิ่ม
ศักยภาพการแข่งขันและสร้างความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน การศึกษาครั งนี เป็นกรณีศึกษาซึ่งจะ
รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์อุตสาหกรรมน ้ามันปาล์มทั งจากภาคเกษตรและอุตสาหกรรมในพื นที่จังหวัด
กระบี่ และจังหวัดสุราษฎร์ธานีรวมถึงศึกษาเครือข่ายและความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลในแต่ละระดับ
เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แบ่งปันประสบการณ์ในการด้าเนินงานของชุมชนในพื นที่ อาทิ รูปแบบของ
การบริหารจัดการ การรับซื อผลปาล์ม และการแปรรูปปาล์มน ้ามันของโรงงานสกัดน ้ามันปาล์ม
ซึ่งนับเป็นการกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือและการสร้างมุมมองใหม่ที่จะมีส่วนในการช่วยขยายขอบเขต
บทบาท ภารกิจ และรูปแบบของการบริหารจัดการ โดยการวิจัยครั งนี จะด้าเนินการรวบรวมข้อมูลทั ง
ข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิในห้วงเวลาตั งแต่เดือนพฤศจิกายน 2562 - พฤษภาคม 2563 การศึกษา
ปรับปรุงโครงสร้างข้อมูลอุตสาหกรรมน ้ามันปาล์ม เพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันและสร้างความมั่นคง
ด้านอาหารและพลังงานครั งนี เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มุ่งศึกษาการมีส่วนร่วม
ของชุมชนการรักษาสิ่งแวดล้อมการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและการพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น โดยยึด
องค์ประกอบที่ส้าคัญของการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable development) และด้าเนินการวิเคราะห์
ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์เนื อหา (Context Analysis) โดยวิเคราะห์เนื อหาของข้อมูล เพื่อแยกแยะให้
เห็นถึงส่วนประกอบและความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประกอบต่าง ๆ ของข้อมูล และน้าข้อมูลที่ได้มา
สังเคราะห์โดยผลจากการศึกษาพบว่าโครงสร้างอุตสาหกรรมน ้ามันปาล์มเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน
และสร้างความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน สามารถมีแนวทางกระบวนการพัฒนาอุตสาหกรรมน ้ามัน
ปาล์มทั งในเชิงนโยบายและส้าหรับการปฏิบัติ5 ด้าน ได้แก่ ด้านการผลิตเกี่ยวกับการเพิ่มเปอร์เซ็นต์
น ้ามันปาล์ม ด้านการผลิตเกี่ยวกับการเพิ่มผลผลิตปาล์มน ้ามันต่อไร่และการลดต้นทุนการผลิต ด้านการ
ผลิตเกี่ยวกับการเพิ่มรายได้เสริมให้กับเกษตรกร ด้านมาตรฐานเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาให้เกษตรกร
มีการเพาะปลูกปาล์มน ้ามันตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP)ด้านมาตรฐานการซื อขายผลปาล์ม
น ้ามันให้เป็นมาตรฐาน
abstract:
Abstract
Title Guidelines for improving the structure of the palm oil industry to
increase competitiveness and build food and energy security
Field Economics
Name Mr. Boosit Ruangpol Couse NDC Class 62
Oil palm is one of Thailand's most economically important crops for food
and energy security. Thailand is third largest palm oil producer of global production
after Indonesia and Malaysia. At the same time, domestic palm oil and palm oil It is
also a product that has a demand and supply imbalance every year. Therefore, the
study will investigate the palm oil industry 's production data structure from both the
agricultural and industrial sectors. Analyze problems and barriers in domestic palm
oil industry development process. And propose guidelines for palm oil production to
boost competitiveness and establish food and energy security. This study is a case
study that would collect data and analyze the palm oil industry in Krabi and Surat
Thani provinces. As well as studying networks and relationships at each level to
exchange knowledge and share experiences in operating the local communities. Such
as the oil palm buying and their processing facilities, which encourages cooperation
and provides new perspectives that will help to broaden the scope of positions,
missions like management approach. The both primary and secondary data are
collected in the period from November 2019 to May 2020. This study is a qualitative
research that aims to improve the palm oil industry's information structure with a
view to increasing competitiveness and creating consumption and to produce
alternative energy. Moreover, studying community involvement, environmental
protection, conservation of natural resources, and local economic development
based on the key elements of sustainable development, and performing data
analysis by methods of context analysis. The data background was analyzed to
define the components and relationships between the various data components,
and the data was synthesized. The results of the study showed that the structure of
the palm oil industry to increase competitiveness and to establish food and energy
security could provide guidance for the growth of the palm oil industry in both policy
and practice in 5 areas: Productivity, about Increasing the percentage of palm oil, the
production aspect involves increasing the yield of oil palm and reducing costs of
production. Outcome related to additional revenue for farmers combined with
standards on promoting farmers to cultivate oil palm as a standard according to
Good Agricultural Practices (GAP) level of trade in oil palm fruit.