Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายแผนงานบูรณาการการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑, (วปอ.9015)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, ผศ.ดร. นุชนาถ มั่งคั่ง, (วปอ.9015)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2562
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายแผนงานบูรณาการการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ประจ าปีงบประมาณ 2561 ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์ ผู้วิจัย ผศ.ดร.นุชนาถ มั่งคั่ง หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62 การวิเคราะห์การจัดสรรแผนงานบูรณาการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2561 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อวิเคราะห์การจัดสรรงบประมาณ รายจ่ายของแผนงานบูรณาการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2561 โดยศึกษาความสอดคล้องของเป้าหมาย ตัวชี้วัด และแนวทางการด าเนินงานของโครงการที่ได้รับ อนุมัติการจัดสรร 2) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายของแผนงาน บูรณาการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2561 และ3) เพื่อเสนอแนวทาง การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายแผนงานบูรณาการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ.2561 อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ด าเนินการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง กับการจัดสรรงบประมาณ วิธีด าเนินการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ และการวิเคราะห์ข้อมูล แบบการวิเคราะห์เนื้อหา สังเคราะห์ข้อมูลและน าเสนอข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการวิจัย พบว่านโยบายในการจัดสรรงบประมาณมีความเหมาะสม แต่การจัดสรร งบประมาณก็ยังไม่กระจายให้ครอบคลุมครบทุกมิติด้านปัญหาและอุปสรรคในการจัดสรร งบประมาณรายจ่ายของแผนงานบูรณาการการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ ประจ าปี งบประมาณ 2561 หน่วยงานเจ้าภาพยังคงจัดท าแผนบูรณาการในลักษณะเดิมซึ่งเป็นการด าเนินงาน โครงการตามภารกิจหลักที่ไม่ใช่ลักษณะงานแบบบูรณาการซึ่งท าให้ไม่สามารถประเมินผลสัมฤทธิ์ของ แผนบูรณาการได้ ด้านการบูรณาการการท างานของหน่วยงาน การด าเนินงานโครงการบางส่วน ยังไม่ชัดเจน ถึงรูปแบบการบูรณาการการท างานร่วมกันระหว่างหน่วยงานอย่างแท้จริง บางโครงการ ยังมีลักษณะเพียงใช้กลุ่มเป้าหมายในการด าเนินงาน แต่ไม่ได้สะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการขั้นตอน ในการบูรณาการการท างานร่วมกัน จึงท าให้ผลผลิตที่ได้รับยังไม่มากนัก ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายควรออกกฎระเบียบของการของบประมาณและการบริหาร จัดการงบประมาณแผนงานบูรณาการเป็นการการเฉพาะ และข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติการควรมีการ ติดตามและประเมินผลผลิตหรือผลผลลัพธ์ที่ได้จากการท าโครงการอย่างจริงจัง อาจน าเทคโนโลยี มาช่วยการติดตามและประเมินผลด้วย และควรมีหน่วยงานกลางให้การพิจารณาจัดสรรงบประมาณ แผนบูรณาการและติดตามการบริหารจัดการงบประมาณเพื่อติดตามการบริหารงานตั้งแต่ต้นจนสิ้นสุด โครงการให้ชัดเจน ตั้งแต่ปัจจัยน าเข้า ผลผลิต ผลลัพธ์และผลกระทบ

abstract:

Abstract Title Analyze the allocation of expenditure budget of integrated plan for reconciliation during fiscal B.E. 2561 Field Strategy Name Asst. Prof. Dr. Nuchanata Mungkung Course NDC Class 62 There are 3 purposes of the research: 1) to analyze the allocation of expenditure budget of integrated plan for reconciliation during fiscal B.E. 2561 budget by investigating the consistency from targets, indicators and processes in allocated approval projects 2) to explore problems and obstacles from the allocation of expenditure budget of integrated plan for reconciliation during fiscal B.E. 2561 budget and 3) to recommend suggestions for the efficiently and effectively allocation of expenditure budget of integrated plan for reconciliation during fiscal B.E. 2561 budget. The instrument used was interview people who were associated with the budget allocation.This research was a qualitative research which analyzed, synthesized and descriptively presented theinformation consecutively. The research revealed that even though the policy of the budget allocation was appropriate, the budget still was not thoroughly apportioned in all dimensions. There were problems and obstacles from the allocation of expenditure budget of integrated plan for reconciliation during fiscal B.E. 2561 budget. The host sector still provided an integrated plan in a traditional form that conducted projects by completing the main task, which was not considered as a quality of the integrated plan. Therefore, the integrated plan could not receive the achievement evaluation. In the integration of sector collaboration, partial processes of the projects were still inadequately explicit in order to demonstrate a genuine collaboration. Some projects still conducted only in the target group, but was not reflect process in the integrated cooperation. As a result of this, the outcome was unproductive. Policy recommendation recommended that there should specifically apply regulations in both approval and administration of integrated plan budget. For action recommendations, the results from projects should be followed and evaluated pragmatically, including using technology to support the processes as well. There should be a central agency in order to deliberate the allocation for integrated plan budget and explicitly monitor the budget administration throughout projects, which concluded input factors, products, outcomes and effects.