เรื่อง: แนวทางการส่งเสริมการใช้ใบกากับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อรองรับไทยแลนด์ ๔.๐, (วปอ.9012)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายนิรันดร์ ประจวบเหมาะ, (วปอ.9012)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการส่งเสริมการใช้ใบก ากับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อรองรับ Thailand 4.0
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายนิรันดร์ ประจวบเหมาะ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 62
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์ภาพรวมการจัดท าและน าส่งข้อมูลใบก ากับภาษี
อิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งปัญหาและอุปสรรค เพื่อก าหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหาและส่งเสริม
ให้ผู้ประกอบการใช้ใบก ากับภาษีอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มมากขึ้น โดยรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสาร
บทความและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการจัดท าใบก ากับภาษีอิเล็กทรอนิกส์
ปัญหาและอุปสรรค ตลอดจนแนวคิดและหลักการต่าง ๆ ส าหรับใช้ในการวิเคราะห์และด าเนินการ
รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิโดยสอบถามความคิดเห็นของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการใช้ใบก ากับภาษี
อิเล็กทรอนิกส์ จ านวน 165 ราย
ผลการวิจัยพบว่า การจัดท าใบก ากับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ เป็นนโยบายภาครัฐตาม
โครงการระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ National
e-Payment เพื่อสนับสนุนการท าธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และรองรับการเข้าสู่ Thailand 4.0
ซึ่งกรมสรรพากร ได้พัฒนาระบบจัดท าและน าส่งข้อมูลใบก ากับภาษีอิเล็กทรอนิกส์และใบรับ
อิเล็กทรอนิกส์ เพื่ออ านวยความสะดวก ลดค่าใช้จ่ายให้กับผู้ประกอบการ โดยเลือกจัดท าได้ 2 วิธี
ขึ้นอยู่กับหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และความพร้อมของผู้ประกอบการ คือ ระบบ e-Tax Invoice & eReceipt และระบบ e-Tax Invoice by Email อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการที่จัดท าใบก ากับภาษี
อิเล็กทรอนิกส์ยังมีจ านวนไม่มาก เนื่องจากมีปัญหาและอุปสรรค ได้แก่ 1. ความพร้อมของ
ผู้ประกอบการในด้านค่าใช้จ่ายและระบบงาน รวมถึงความรู้ความเข้าใจในการจัดท าใบก ากับภาษี
อิเล็กทรอนิกส์2. วิธีการใช้งานระบบมีความยุ่งยาก ไม่เหมาะสมหรือสอดคล้องกับรูปแบบ
การประกอบธุรกิจ 3. ข้อจ ากัดของกฎหมาย ระเบียบ แนวปฏิบัติ และ 4. ด้านอื่น ๆ เช่น
การประชาสัมพันธ์ยังไม่เข้าถึงผู้ประกอบการ และมาตรการหรือสิทธิประโยชน์ทางภาษีไม่จูงใจ
เป็นต้น ทั้งนี้ ได้ก าหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหาและส่งเสริมให้ผู้ประกอบการใช้ใบก ากับภาษี
อิเล็กทรอนิกส์เพิ่มมากขึ้น ได้แก่ 1. การประชาสัมพันธ์ให้ข้อมูลข่าวสารที่มีประสิทธิภาพในเชิงรุก
เพื่อสื่อสารไปถึงผู้ประกอบการได้อย่างแท้จริง 2. การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย เพื่อแก้ปัญหาและ
ลดอุปสรรคที่ส่งผลต่อการใช้ใบก ากับภาษีอิเล็กทรอนิกส์3. การก าหนดมาตรการหรือสิทธิประโยชน์
ทางภาษีเพื่อกระตุ้นและจูงใจให้ใช้ใบก ากับภาษีอิเล็กทรอนิกส์และ 4. การสร้างพันธมิตรและ
ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น เพื่อร่วมกันส่งเสริมการใช้ใบก ากับภาษีอิเล็กทรอนิกส์
โดยสรุป การส่งเสริมการใช้ใบก ากับภาษีอิเล็กทรอนิกส์เป็นเรื่องที ่ควรด าเนินการ
อย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความพร้อมและกระตุ้นให้ผู้ประกอบการใช้ใบก ากับภาษีอิเล็กทรอนิกส์
นอกจากนี้ ยังควรส ่งเสริมให้ผู้ประกอบการใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ในท ุกกระบวนการของ
การประกอบธุรกิจ เพื่อรองรับรูปแบบการประกอบธุรกิจและรูปแบบกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่าง ๆ
ที่จะเปลี่ยนแปลงไปในรูปแบบดิจิทัลในยุคThailand 4.0
abstract:
Abstract
Title Guidelines for promoting the adoption of electronic tax invoices
to support Thailand 4.0
Field Economics
Name Mr. Nirandara Prachuabmoh Course NDC Class 62
The main objective of the research is to study and analyse the overview of
preparation and submission of electronic tax invoice information, including problems
and obstacles to propose a solution guideline and encourage entrepreneurs to use
electronic tax invoices. This research is based upon gathering of primary and secondary
data. Primary data was collected from 165 interviews with entrepreneurs’ opinions
about the use of electronic tax invoices. The secondary data was conducted from
related researches and articles to investigate electronic tax invoices information,
barriers, as well as concepts and principles for analysis.
The research found that the electronic tax invoices system is an important
project based on the National e-Payment strategic plan according to government policy
to support electronic transactions and contribute positively to the development
of Thailand 4.0. The Revenue Department of Thailand was developed e-Tax Invoice
& e-Receipt system to facilitate and reduce costs for entrepreneurs. The system
consists of e-Tax Invoice & e-Receipt and e-Tax Invoice by e-mail. These two systems
will be adopted by the taxpayers depending on the criteria, conditions and availability.
However, the result showed that there was a small number of taxpayers who adopt
e-Tax Invoice & e-Receipt system because of the limitation of budget, resources, lack
of understanding, the difficulty of applying the system, law and regulation conditions,
advertisement lacking and tax measures or benefits are not incentivized. With regard
to the issues mentioned, this research suggests developing and incentives solutions.
First, promoting a proactive public relations strategy helps to increases the number
of users through the use of communicating through the media. Second, amending
the law to reduce problems and obstacles affecting e-Tax Invoice & e-Receipt system.
Third, providing tax measures and benefits to improve user motivation. Finally,
establishing and building partnerships with other organizations, because partnerships
can be formed to help organizations accomplish achievement.
In conclusion, it is important to note that, in the context of the motivating
and adopting of e-Tax Invoice & e-Receipt system needs to be maintained continuously
to support entrepreneurs. Additionally, entrepreneurs should be encouraged to use
electronic systems in all processes of the business operation to support various
business models and economic activities that will be moving forward to digital
format in the era of Thailand 4.0.