เรื่อง: แนวทางการพัฒนางานด้านมวลชนสัมพันธ์ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้, (วปอ.9009)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ต.ต. นิตินัย หลังยาหน่าย, (วปอ.9009)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการพัฒนางานด้านมวลชนสัมพันธ์ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
ลักษณะวิชา สังคมจิตวทยา
ผู้วิจัย พลต ารวจตรีนิตินัย หลังยาหน่าย หลักสูตร วปอ. รุ่นท ี่๖๒
การศึกษาวิจัยในหัวข้อ “แนวทางการพัฒนางานด้านมวลชนสัมพันธ์ในพื้นที่จังหวัด
ชายแดนภาคใต้” มีวัตถุประสงค์ ๑. เพื่อศึกษาสถานการณ์งานด้านมวลชนสัมพันธ์ในพื้นที่จังหวัด
ชายแดนภาคใต้ ๒. เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคของงานด้านมวลชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
๓. เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนางานด้านมวลชนสัมพันธ์ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
ผู้วิจัยแบ่งการศึกษาวิจัยออกเป็น ๓ ระยะ ดังนี้ ระยะ ๑ ศึกษาสถานการณ์งานด้าน
มวลชนสัมพันธ์ในพื้นที่จังหวัดชายแกนภาคใต้ ระยะ ๒ ศึกษาปัญหาและอุปสรรคของงานด้านมวลชน
สัมพันธ์พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยเปรียบเทียบข้อมูลจากเหตุการณ์ซุ่มโจมตีฐานปฏิบัติการ
กองร้อยปืนเล็กที่ ๒ สังกัดหน่วยเฉพาะกิจนราธิวาส ๓๒ (กองทัพเรือ) บ้านยือลอ หมู่ที่ ๓ ต าบล
บาเร๊ะเหนือ อ าเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส กับเหตุการณ์ซุ่มโจมตีฐานปฏิบัติการชุดรักษาความปลอดภัย
หมู่ ๕ ต าบลล าพะยา อ าเภอเมือง จังหวัดยะลา และระยะ ๓ ศึกษาแนวทางการด าเนินงานด้าน
มวลชนสัมพันธ์ในการป้องปรามเหตุการณ์ซุ่มโจมตีฐานปฏิบัติการของฝ่ายความมั่นคงในพื้นที่จังหวัด
ชายแดนภาคใต้ โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลแบบ Content Analysis การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบ
และการสังเคราะห์ข้อมูลทฤษฎี หลักการต่าง ๆ
ผลการศึกษาวิจัยพบว่า การด าเนินการของกลุ่มกองก าลังติดอาวุธที่เคลื่อนไหว
ในประเทศไทยมีวิวัฒนาการมาจากประเด็นเรื่องของความเลื่อมล้ าในประเด็นต่าง ๆ อาทิเช่น
ความเลื่อมล้ าในการเข้าถึงแหล่งทรัพยากร การเข้าถึงโอกาสในการศึกษาและการเมือง จึงท าให้เกิด
การเคลื่อนไหวผ่านอิทธิพลตามแนวความคิด ญิฮาด (Jihad) จนเกิดเป็นความรุนแรงจากอดีต
สู่ปัจจุบัน ซึ่งที่ผ่านมารัฐไทยได้ด าเนินการแก้ไขเรื่องความเลื่อมล้ าที่มีในสังคมสามจังหวัดชายแดนใต้
มาโดยตลอด ทั้งการเพิ่มขีดความสามารถในการเข้าถึงแหล่งทรัพยากรของประชาชนในพื้นที่ การเพิ่ม
หน่วยงานราชการหรือการเพิ่มช่องทางในการตรวจสอบการใช้อ านาจของเจ้าหน้าที่รัฐ และการลด
ขั้นตอนการด าเนินการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับรัฐ เพื่อสร้างมาตรฐานใหม่ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
จนประชาชนในพื้นที่เข้าใจในบทบาทของรัฐไทยมากขึ้น แต่การเคลื่อนไหวของกลุ่มกองก าลังติดอาวุธ
ยังคงด าเนินการอยู่ ซึ่งประเด็นที่ใช้ในการเคลื่อนไหวและสร้างความชอบธรรมที่ผ่านมาเป็นประเด็น
หลักคือ ความเลื่อมล้ าในแง่มุมต่าง ๆ ประกอบกับประเด็นรองเรื่องเชื้อชาติ วัฒนธรรม ศาสนาและ
ประเด็นที่เพิ่มเติมขึ้นมาคือ ประเด็นเรื่องข้อผิดพลาดจากการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่รัฐ
ผู้วิจัยจึงขอเสนอแนะว่า ทางหน่วยงานความมั่นคงที่เกี่ยวข้องควรปรับเปลี่ยนนโยบาย
และปรับทิศทางการท างานให้รัดกุมและทันต่อเหตุการณ์มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการเพิ่มการสนับสนุน
ให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงทุกระดับชั้นมีมาตรการในการรับมือต่อเหตุการณ์ซุ่มโจมตีผ่านการ
ด าเนินงานด้านมวลชนสัมพันธ์กับชุมชนในพื้นที่รับผิดชอบของฐานปฏิบัติความมั่นคง
abstract:
Abstract
Title The Development guidelines for Mass Relations and Community
Relations of The Three Southern Border Provinces, Thailand
Field Social – Psychology
Name Pol.Maj.Gen. Nitinai Langyanai Course NDC Class 62
This research study on “The Development guidelines for Mass Relations
and Community Relations of The Three Southern Border Provinces, Thailand
" The Objective of this study was to 1. To study the situation of mass relations in the
southern border provinces. 2. To study the problems and obstacles of the mass work
in the southern border provinces. 3. To study the development guidelines. Mass
relations work in the southern border provinces.
The researcher divided the research study into 3 phases as follows:
Phase 1: Study the situation of the mass relations work in the southern axis of the
province. Phase 2 studies the problems and obstacles of the mass relations work in
the southern border provinces. By comparing the data from the ambush incident,
The Second Small Gun Company Operation Base, Narathiwat 32 (Royal Thai Navy),
Yue Lo Village, Village No. 3, Bare Nuea sub-district, Bacho district, Narathiwat With
an ambush incident at the security unit operating base, Moo 5, Lam Phaya Sub-district,
Muang District, Yala Province, and Phase 3 Study of the Mass Relations Action
Guideline for Preventing the Ambushing Incident of the Security Department's Operation
Base in the Southern Border Provinces. And for this the research methodology,
the researcher used a Content analysis, Comparative analysis and the synthesis of
information, theories and principles.
The results of the study show that the action of the armed forces in
Thailand evolved from the issue of advancement in issues such as the invasion of
resource access. Access to educational and political opportunities It causes a
movement through the influence of the concept of Jihad until the violence from the
past to the present. In the past, the Thai state has always rectified the inheritance of
society in the three southern border provinces, such as enhancing the capacity to
access resources of the people in the area. Increasing government agencies or
increasing channels to examine the exercise of power by government officials and
reducing different operating procedures Related to the state. To create new standards
for a better quality of life Until people in the area understand more about the role
of the Thai state but the movement of the armed forces is still ongoing. The issues
used in the movement and establishing legitimacy of the past are the main issues
the diversity of aspects, coupled with the secondary issues of race, culture, religion
and further issues are: The issue of errors in the practice of government officials.
The researcher therefore suggests that the relevant security agencies
should adjust the policy and adjust the working direction to be more concise and
timelier. In particular, support for security personnel at all levels to take measures to
deal with ambush incidents. Through the implementation of the mass relations with
the community in the area responsible for the security practice base.