Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: จริยธรรมและจรรยาบรรณของข้าราชการตำรวจอันส่งผลต่อความมั่นคงของชาติ : กรณีศึกษาตำรวจภูธรภาค 6

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตำรวจตรี หญิง อัญชนา ศรีทรงผล
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง จริยธรรมและจรรยาบรรณของขา ้ ราชการตา รวจอนั ส่งผลตอ่ ความมนั่ คงของชาติ :กรณีศึกษา ต ารวจภูธรภาค ๖ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิยั พล.ต.ต.หญิง อัญชนา ศรีทรงผล หลักสูตร วปม. รุ่นที่ ๗ การศึกษาวิจัยน้ีเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาวิจัยเอกสารและสัมภาษณ์เชิงลึก โดยมีวัตถุ ประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาจริยธรรมและจรรยาบรรณของข้าราชการต ารวจในสังกัดต ารวจภูธรภาค ๖ ๒) เพื่อ ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติหน้าที่ตามหลักจริยธรรมและจรรยาบรรณของข้าราชการต ารวจใน สังกัดต ารวจภูธรภาค ๖ ๓) เพื่อเสนอแนวทางในการพัฒนาจริยธรรมและจรรยาบรรณของข้าราชการต ารวจ ผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ข้อที่ ๑) พบว่า ข้าราชการต ารวจส่วนใหญ่ในสังกัดต ารวจภูธร ภาค ๖ มีทรรศนะเกี่ยวกับจริยธรรมและจรรยาบรรณไปในทางเดียวกันว่าต ารวจที่ดีควรมีจริยธรรมตาม “กฎ ก.ตร.ว่าด้วยประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของต ารวจ พ.ศ.๒๕๕๓” นอกจากน้ียังเห็นว่า จริยธรรมที่ส าคัญอีกก็คือ การปฏิบัติตนตามหลักค าสอนทางศาสนาและอุดมคติของต ารวจ ผลการศึกษา ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ ๒) พบว่า ข้าราชการต ารวจในสังกัดต ารวจภูธรภาค ๖ ได้ให้ทรรศนะเกี่ยวกับ ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาจริยธรรมและจรรยาบรรณต ารวจไว้ว่า งบประมาณที่ได้รับการจัดสรร ไม่เพียงพอต่อการรณรงค์เกี่ยวกับการพัฒนาจริยธรรม และขาดบุคลากรในด้านการปลูกฝังและถ่ายทอด จริยธรรมที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง ตลอดจนผู้บริหารไม่ให้ความส าคัญกับการพัฒนา จริยธรรม และผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ข้อที่ ๓) พบว่า วิธีการพัฒนาจริยธรรมข้าราชการต ารวจใน ยุคแรกน้นั เป็ นการเรียนการสอนเกี่ยวกับจริยธรรมต ารวจเฉพาะในโรงเรียนต ารวจ ซึ่งน าหลักธรรมตาม ค าสอนของศาสนา มาใช้เป็ นหัวข้อบรรยาย แต่ขาดการปรับแต่งให้เหมาะสมกับวิชาชีพต ารวจ ต่อมาปี พ.ศ.๒๕๒๕ ได้มีคา สั่งกรมตา รวจ ก าหนดโครงสร้างจริยธรรมและวิธีการเสริมสร้างพัฒนาจริยธรรม อย่างชัดเจน แบ่งโครงสร้างจริยธรรมต ารวจออกเป็ น ๕ ส่วน คือ คุณธรรมต ารวจ ค่านิยมของต ารวจ อุดมคติต ารวจ หลักการส าคัญส าหรับอาชีพต ารวจ และข้อปฏิบัติส าหรับอาชีพต ารวจ จนกระทงั่ ปี พ.ศ.๒๕๕๑ จึงได้มีกฎ ก.ตร.ว่าด้วยประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของต ารวจ พ.ศ.๒๕๕๑ เพื่อเป็ น กรอบแห่งการประพฤติปฏิบัติของข้าราชการต ารวจ ซึ่งต่อมาปี พ.ศ.๒๕๕๓ ได้มีการแก้ไขปรับปรุง กฎ ก.ตร. ดังกล่าวใหเ้หมาะสมกบั สถานการณ์และกาลเวลายงิ่ ข้ึน จากผลการวิจัยที่ได้ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะว่าส านักงานต ารวจแห่งชาติควรจะศึกษาเพื่อ พัฒนาวิธีการพัฒนาจริ ยธรรมอย่างเป็นระบบ มาประยุกต์ใช้ร่ วมกับการน าหลักค าสอนทางศาสนา ที่แต่ละคนนับถืออยู่มาเป็นแนวทางในการพัฒนาจริยธรรมโดยไม่ยึดติดอยู่กับศาสนาใดศาสนาหนึ่ง

abstract:

Abstract Title Morality and Code of Ethics forPolice Officers Act on National Security Case Study: Provincial Police Region 6 Field Social -Psychology Name Pol.Maj.General Anchana Srisongpon Course NDC(SPP) Class 7 This effective research, which is acquired from document research and interview, is prepared for three specific objectives. The first objective is that to learn more about morality and code of ethics for Police Officers in Provincial Police Region 6. Secondly, to study about the problem and obstacle during performing their duties. Eventually, to suggest new procedures for morality and code of ethics development among Police Officers. The result from objective 1, I found that most of the police officers in this region have the same morality and code of ethics attitude that police officers must have virtue and ethics. Beside from this, another important one is to follow religious philosophy and police officer’s ideal. Moreover, the result from second objective is that they mentioned that the budget for morality development scheme is not enough and lack of moral and ethical experts in order to teach and foster these vision. Finally, the last objective, the result shows that in the past ethics and moral is taught in police schools (INSTITUTE OF POLICE ADMINISTRATION DEVELOPMENT) by applying the lessons from religious philosophy. Later in 1982, Royal Thai Police Departmentdetermined moral development structure by dividing into 5 sections; virtue, values, ideal, principles and rules. Until 2008, Office of The Police Commission rules about morality and code of ethics in order to confine police officer’s behaviour. In 2009, this rule is rectified in order to suit situation and time. From this research, I suggest that Royal Thai Police Department needs to study and understand more about the morality and ethics in order to develop it systematically by applying Kohlberg's Theory with religious philosophy.