เรื่อง: การพัฒนาการค้าชายแดนเขตเศรษฐกิจพิเศษในพื้นที่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก, (วปอ.8998)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางนงลักษณ์ ทวีรักษา, (วปอ.8998)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2562
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การพัฒนาการค้าชายแดนเขตเศรษฐกิจพิเศษในพื้นที่อ าเภอแม่สอด จังหวัดตาก
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นางนงลักษณ์ ทวีรักษา หลักสูตร วปอ.รุ่นที่ 62
การวิจัยเรื่อง การพัฒนาค้าชายแดนในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ ในพื้นที่แม่สอด จังหวัดตาก
มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การค้าชายแดน เส้นทางการขนส่ง สิ่งอ านวยความสะดวก และ
โครงสร้างพื้นฐาน น ามาวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรค และเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการค้า
ชายแดนไทย การแก้ไขปัญหาและอุปสรรคด้านการค้าชายแดนในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ อ าเภอแม่สอด
จังหวัดตาก โดยเป็นการศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร วารสาร รายงาน งานวิจัย สถิติ และข้อมูลจากด่าน
ศุลกากรแม่สอด เป็นการน าข้อมูลมาตรวจสอบกับแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง แล้วน ามาวิเคราะห์
ข้อมูลจากเอกสารร่วมกับการพรรณานา ผลการวิจัยพบว่าสถานการณ์การค้าชายแดนพื้นที่เขต
เศรษฐกิจพิเศษอ าเภอแม่สอด มีมูลค่าการส่งออกลดลง จากปีที่ผ่านมา เป็นผลมาจากปัญหาค่าเงินจ๊าต
อ่อนตัวลงอย่างต่อเนื่อง ท าให้ประเทศเมียนมาสั่งซื้อสินค้าจากประเทศไทยน้อยลง ขณะที่การน าเข้า
สินค้ามีมูลค่าเพิ่มขึ้นจากก๊าซธรรมชาติเป็นส าคัญ เนื่องจากความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติเพื่อน ามา
ผลิตกระแสไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้คาดว่าการค้าชายแดนในปีช่วงครึ่งปี2563 จะเพิ่มขึ้นปีละ
100,000 ล้านบาทต่อปีจากการเปิดใช้สะพานมิตรภาพไทย-เมียนมา แห่งที่ 2 ที่บริเวณด่านแม่สอด
จังหวัดตาก ข้อเสนอแนะภาครัฐควรพัฒนาการเชื่อมโยงข้อมูลการค้าชายแดน รวมถึงข้อมูลต่าง ๆ ที่
จ าเป็นต่อกระบวนการน าเข้าส่งออกในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน โดยการพัฒนาโครงการ
NSW หรือระบบการเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียวของประเทศไทยให้เป็นรูปแบบดิจิตอล
ทั้งหมด ภาครัฐควรมีการปฏิรูปกฎหมายและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการค้าชายแดนให้ทันสมัยมี
ความเป็นสากล และสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษแต่ละพื้นที่ ส าหรับเทศบาลนคร
แม่สอด เป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์ส าคัญของประเทศไทย สิ่งส าคัญที่ต้องพัฒนาคือโครงสร้างพื้นฐานระบบ
คมนาคม ด้านโลจิสติกส์ และภาษีน าเข้าและส่งออกสินค้าผ่านด่านชายแดน เพราะแม่สอดเป็นเมือง
หน้าด่านชายแดนไทย – เชื่อมกับเส้นทางเมียนมา ทั้งนี้แม่สอดยังเป็นเส้นทางการท่องเที่ยว
จ าเป็นต้องเร่งพัฒนาสิ่งอ านวยความสะดวกให้กับนักท่องเที่ยว แสดงให้เห็นถึงความเจริญเติบโตของ
สภาพเศรษฐกิจการค้าชายแดนแม่สอดอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ในอนาคตหากได้รับการยกฐานะเป็น
“องค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนครแม่สอด” จะสามารถรับมือกับความเปลี ่ยนแปลงทุก
รูปแบบในยุค “ไทยแลนด์ 4.0” ได้
abstract:
Abstact
Title Border trade development in special economic zone In Mae Sot District Tak
province
Field Economics
Name Mrs. Nonglak Thaveeraksa Course NDC Class 62
Subject research Border trade development in special economic zone In
Mae Sot District Tak province, the objective was to study the situation of border
trade, route of transportation, and infrastructure. To analyze the problems ,obstacles
and recommendations for the development of Thai border trade. Solving problems
and obstacles on border trade in the special economic area, Mae Sot District, Tak
Province by use documentary analysis from journals ,reports, research, statistics
reports and data from the Mae Sot Customs Border. The results of the study found
that the situation of border trade in the special economic zone in Mae Sot District
has decreased export value from last year due to the Kyat currency continually
depreciated and Myanmar to order less products from Thailand While the import of
goods has a significant increase in value from natural gas. Due to the increasing
demand for natural gas to produce electricity. In addition, it is expected that border
trade in the year half of 2020 will increase by 100,000 million baht per year from the
opening of the 2nd Thai-Myanmar Friendship Bridge at Mae Sot checkpoint, Tak
Province. Link border trade information including information necessary for the
process of import and export in border special economic zones By developing the
NSW project or the one-point electronic linkage system in Thailand to be fully digital.
The government sector should have legal and regulatory reforms. Related to border
trade to be modernized and universal And consistent with the context of each
special economic zone For Mae Sot Municipality Is an important strategic area of
Thailand The important thing to develop is the transportation infrastructure. Logistics
And taxes on import and export of goods through the border Because Mae Sot is a
city in front of the Thai border - connecting with the Myanmar route Mae Sot is also
a tourist route. Need to accelerate the development of facilities for tourists. This
inevitably shows the economic and border trade in Mae Sot in the future if it has
been raised as "Nakhon Mae Sot Local Government Organization" will be able to
cope with all kinds of changes in the era of "Thailand 4.0"